Magnet Generator .... พลังงาน Free ... ทางเลือกยุคน้ำมันแพง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Pew Pew, 10 กรกฎาคม 2008.

  1. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
  2. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เมื่อวานนี้ ไปตรวจดูช่างตกแต่ง Office แต่ช่างเบี้ยวไม่มาทำงาน

    ผมเลยไปเดินเล่นรอบๆบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง แล้วก็เกิดคิดว่าลองใช้บริการรถเมล์ฟรี นั่งรถสำรวจพื้นที่สบายๆดีกว่า พอเดินไปที่ป้ายรถเมล์ ป้ายรถอยู่ใต้สถานี BTS พระโขนงพอดี หน้าร้านขายรถเข็นสามล้อ 900 บาทเอง คิดว่าไม่แพงนะ ที่ปรียานันท์ น่าจะมีสักชุด เวลาขนย้ายของหนักๆ จะได้สะดวก เดินต่อไปอีกร้าน เห็นเขาขายจานดาวเทียม เขียนป้ายว่า ราคาโปรโมชั่นสุดๆ น่าจะราคาราว 3900 บาท ( จำไม่ค่อยได้แล้ว เพราะมีคนโทรมาที่โทรศัพท์มือถือพอดี ) ตอนนั้นกำลังคิดว่าที่ปรียานันท์ น่าจะติดตั้งสักชุด เวลามีภัยพิบัติ ใช้ดาวเทียมสืบเสาะข่าวสารทั่วโลกได้ดีกว่า วิทยุ หรือ โทรทัศน์

    แล้วผมก็รีบรับโทรศัพท์ที่มีคนโทรเข้ามา แต่เสียงรถยนต์วิ่งบริเวณริมถนนดังมาก เลยเดินหลบเข้าซอย เพื่อคุยโทรศัพท์ ก็ดบังเอิญเดินไปคุยหน้าร้านร้านขายวิทยุสีแดง ที่เคยเห็นพวกเราใช้กัน เป็นร้านใหญ่เสียด้วย มีโชว์รูมหลายรุ่น คิดว่าเอาไว้มีตังค์จะมาช้อปสักเครื่องที่นี่ อยู่ใกล้ออฟฟิศดี

    รับโทรศัพท์เสร็จแล้ว เดินกลับมาที่ป้ายรถเมล์ เพื่อรอรถเมล์ต่อ ก็เห็นร้านขายของโชว์สินค้าอะไรก็ไม่รู้ แต่ดูคุ้นๆ พอมองป้ายชื่อร้าน - รับซ่อมไดนาโม มอเตอร์ เลยคิด อ๋อ เราเพิ่งเห็นในรูปที่เวปพลังจิตนี่เอง

    คิดๆดูก็แปลกดีนะ ช่างตกแต่งofficeนี้ปกติ ไม่เคยเบี้ยวงาน แต่ดันมาเบี้ยววันนี้ เราก็เลยว่างๆพอดี เดินไปมาเกิดเบื่อ อยากนั่งรถเมล์เล่น ก็เดินมาเจอของที่เกี่ยวข้องกับเวปนี้ ทั้งจานดาวเทียม ทั้งรถเข็นสามล้อ รถเข็นผัก หรือแบบอื่นอีกหลายๆแบบ โทรศัพท์ดังพอดีอีก ก็พาเราเดินเข้าซอยไปเจอร้านวิทยุเครื่องแดงพอดี เดินออกมาก็เจอร้านขาย ซ่อม ไดนาโม พอดี ราคาน่าจะไม่แพง เพราะดูร้านเก่าๆ เงียบๆ

    มันเหมือนมีอะไรๆมาจัดสรรให้เราได้ไปเจออะไรๆ แบบไม่คาดฝันยังไงไม่รู้ ของพวกนี้ก็ดันมาอยู่รวมกันใกล้บริษัทฯพอดี สงสัยคงจะมีโอกาสได้ทดลองโปรเจค "เครื่องเจน" กะเขามั่งนิ ....... ต้องรอตังค์ก่อน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 สิงหาคม 2008
  3. ภูมินที

    ภูมินที เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +289
    รบกวนถามคุณ JONGKON SIRISIN ครับ มอเตอร์จักรยานไฟฟ้า ให้แรงดัน 38 โวล์
    ให้กระแสเท่าไหร่ครับ? คือผมอยากทราบว่าถ้านำไปชาร์ตแบตรถยนต์ขนาด 60 แอมป์ 12 โวล์จะต้องใช้เวลานานเท่าไหร่ครับ ?

    :z12
     
  4. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    ต้องขอโทษคุณภูมินทีนะครับผมไม่ทราบจริง ๆ ความรู้พองูๆปลาๆ เครื่องมือที่ผมมีก็แค่เป็นมิเตอร์อันเล็ก ๆ ซื้อจากตลาดนัด วัดกระแสได้สูงสุดไม่เกิน 500 มิลลิแอม แค่เพียงผมใช้มือหมุนแกนมอเตอร์หน่อยเดียวเข็มมันก็ตีไปสุดหน้าปัดเลย
    ผมก็อยากทราบเหมือนกัน
    คุณภูมินทีช่วยบอกหน่อยได้ไหมครับว่า มีสูตรคำนวนอย่างไรครับ เผื่อวันหน้าผมหาหยิบยืมเครื่องมือเพื่อนมาวัดค่ากระแสได้ ก็จะได้แทนค่าในสูตรได้
     
  5. ภูมินที

    ภูมินที เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +289
    ขอโทษนะครับ ผมเองก็งูๆ ปลาๆ เหมือนกัน แต่ชอบแนวคิดของคุณ JONGKON SIRISIN ที่นำเอามอเตอร์จักรยานไฟฟ้ามาปั่นไฟนะครับ

    ก็เลยคิดเล่นๆว่า ถ้าใช้แกนหมุนอันเล็กๆ ขนาด 4 - 5 นิ้ว ติดแม่เหล็กเล็กๆซัก 12 ชิ้น แล้วใช้แม่เหล็กตัวใหญ่เป็นตัวผลักให้หมุน (จะได้ไม่ต้องออกแรงปั่นจักรยาน ) ต้องการแรงดันไฟซัก 15 โวล์ท (ไม่ทราบเหมือนกันว่าควรได้กระแสไฟเท่าไหร่) การที่ใช้แรงดันมากๆ กระแสมากๆ อัดใส่แบต มันจะทำให้เกิดความร้อน และแบตเสื่อมเร็วครับ

    แล้วนำไฟที่ได้ไปชาร์ตใส่แบตรถยนต์ขนาด 12 โวล์ท ความจุ 100 แอมป์ แล้วใช้อินเวอร์เตอร์ แปลงไฟ ขนาด 1000 วัตต์ เอามาใช้กับพวกอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างเครื่องซักผ้า ขนาด 500 วัตต์ โดยใช้เวลาซักผ้าประมาณ 40 นาที (ที่เลือกใช้อินเวอร์เตอร์ขนาด 1000 วัตต์ เพราะต้องเผื่อไฟกระชากเป็น 2 เท่า ในช่วงที่มอเตอร์เครื่องซักผ้าเริ่มทำงาน) มันจะเป็นไปได้มั้ย?

    ใครมีความรู้ทางไฟฟ้ารบกวนช่วยตอบหน่อยครับ

    hello8
     
  6. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    จากข้อความของคุณ ภูมินที " ก็เลยคิดเล่นๆว่า ถ้าใช้แกนหมุนอันเล็กๆ ขนาด 4 - 5 นิ้ว ติดแม่เหล็กเล็กๆซัก 12 ชิ้น แล้วใช้แม่เหล็กตัวใหญ่เป็นตัวผลักให้หมุน (จะได้ไม่ต้องออกแรงปั่นจักรยาน ) ต้องการแรงดันไฟซัก 15 โวล์ท (ไม่ทราบเหมือนกันว่าควรได้กระแสไฟเท่าไหร่)"
    แสดงว่าคุณภูมินที สามารถทำ magnet motor สำเร็จแล้วใช่ใหมครับ ช่วยเผยแพร่เป็นวิทยาทานหน่อยได้ไหมครับ ?
     
  7. ภูมินที

    ภูมินที เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +289
    (||) ยังไม่ได้ทำครับ (- -') เป็นเพียงแนวคิดครับ
    อยากลองทำดูเหมือนกันครับ รบกวนถามหน่อยครับ คุณ JONGKON SIRISIN ซื้อมอเตอร์ร้านไหน? วันเสาร์นี้ผมจะเข้ากทม. จะไปเดินดูแถวคลองถมครับ
     
  8. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    ผมจำชื่อร้านไม่ได้ครับ ที่คลองถมพลาซ่า จะมีอยู่ร้านนึงที่เขาขายจัีกรยานไฟฟ้าและอุปกรณ์อาไหล่
    ที่บ้านหม้อก็มีที่ร้านฟ้าใสครับ
     
  9. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    มาดันครับ

    พอดีงานยุ่งมากๆ เลยไม่ได้มา update ไปหลายวัน แต่ใจยังคิดถึงอยู่บ่อยๆ

    เท่าที่ติดตาม วิเคราะห์ดูแล้วว่า ปัญหาอุปสรรคในการสร้าง เจนฯมี ในหลาย step ดังนี้

    1.ต้องใช้งบประมาณมากพอสมควร ในการซื้อแม่เหล็กให้สามารถสร้างกำลังผลักดันให้ล้อหมุน และต้องให้ได้กำลังหมุน(แรงบิด)และความเร็วมากพอ

    2. ต้องหางบจัดซื้อลวดทองแดงมาพันเป็นขดๆ ให้ได้ตามจำนวนในแบบตัวอย่าง

    3. เมื่อได้แล้วต้องประกอบให้ได้ความพอดี ในการหมุน ให้แม่เหล็กเคลื่อนผ่านขดลวดทองแดง เพื่อสร้างกระแสไฟฟ้า

    4. ต้องต่อขดลวดให้นำกระแสไฟฟ้าที่ได้ออกมา นำไปใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า หรือ หลอดไฟ ซึ่งต้องใช้ skill

    5. ต้องต่อวงจรไฟฟ้าให้ครบวงจรสมบูรณ์แบบ ต้องมีตัวแปลงกระแสไฟฟ้าให้มีความคงที่ หรือต้องหาทางจัดเก็บหรือแปลงกระแสไฟฟ้าไว้ที่หม้อแบตเตอรี่ ซึ่งก็ต้องการความรู้ความเข้าใจทางด้านช่างไฟฟ้าพอสมควร สำหรับผู้ที่จะจัดทำ

    คิดดูแล้ว กว่าจะครบถ้วนกระบวนความต้องใช้งบประมาณ และ ความรู้ความชำนาญหลายๆอย่าง ซึ่งคงทำได้ยากในคนๆเดียว (โดยเฉพาะตัวผมเอง) ผมจึงลองมาคิดว่าควรมีแผนในการทดลองทำทีละเรื่องก่อน เมื่อมีความเข้าใจแล้วจึงเอาความรู้ความเข้าใจแต่ละเรื่องมาประกอบกันในภายหลังน่าจะได้ผลสำเร็จได้ง่ายขึ้นกว่าการทดลองไปเรื่อยๆ หรือช่วยกันทำเป็นกลุ่ม มีการแบ่งงานในการทำเป็นเรื่องๆ แล้วมาประกอบกันในภายหลัง ไม่รู้ว่าดีหรือเปล่า ใครมีความรู้ หรือมีข้อเสนอแนะ ช่วยบอกหน่อบครับ ผมอยากลองดันดครงการนี้ดู ถ้ามันมีโอกาสจะเป็นไปได้จริง

    ถ้ามีเรื่องที่ไม่ต้องใช้หัวทางช่างมาก ผมอาจจะรับอาสามาทดลองทำด้วยครับ ขอความเห้นจากผู้มีความรู้หน่อยครับ
     
  10. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    วานนี้ไปเดินหาซื้อของเข้า Office แถวสนานี BTS พระโขนง ใกล้ๆร้านขายไดนาโม วิทยุเครื่องแดง เลยเดินไปอ่านป้ายเล่น เห็นว่ามีวิทยุหลายแบบ คลื่นหลักๆ 2 คลื่น มีแบบ 3 วัตต์ และ 5 วัตต์ เอาไว้พอมีสตางค์เหลือจะมาซื้อไปใช้สักเครื่อง แล้วเดินเข้าซอยเล็กๆ เห็นเขากำลังประกอบรถเข็นพอดี ที่เขาขายอยู่หน้าร้านริมถนน 900 บาทเอง ไม่แพง

    เดินต่อไปอีกเล็กน้อยเห็นเขากำลังพันลวดทองแดงกัน คล้ายๆที่เคยเห็นตอนไปดูอ.บรรจง ทำกังหันลมปั่นไฟฟ้า มองไปรอบๆร้านเห็นบางคนกำลังแกะ หรือประกอบเครื่องคล้ายๆไดนาโมนะ เห็นแล้วปิ้งขึ้นมาทันทีว่า ได้แหล่งทำไดนาโม หรือเจนเนอเรเตอร์แล้ว มีช่างทุกอย่างอยู่บริเวณนี้พร้อมเลย

    ช่างอ๊อกเหล็กทำฐานเครื่องเจน ทำแกนหมุน (เพราะทำล้อรถเข็นอยู่แล้ว) ช่างพันทองแดงก็มี ช่างไดนาโมก็มี น่าจะครบพอสมควร

    เสียอย่างเดียวเรา ตัวผมไม่ค่อยมีความรู้เรื่องช่าง คงอธิบายให้เขาเข้าใจสิ่งที่เราต้องการไม่ค่อยครบถ้วน ขืนอธบายยาวๆ ม่ค่อยรู้เรื่อง สงสัยจะโดนโขกราคาหัวแบะแน่ๆเลย

    เลยมาประกาศบอกเพื่อนๆ ที่กำลังทดลองประกอบเครื่องกันอยู่ว่า หากใครสนใจจะทดลองทำเครื่องเจน และพอมีความรู้พื้นฐานมาบ้าง ลองโดยสาร BTS มาที่พระโขนงดูได้นะ แล้วโทรหาผมก็ได้ที่ 081-311-6255 นัดเวลากัน แล้วจะพาไปร้านพวกนี้ให้ ดูจากทำเล และลุกษณะร้านแล้ว ราคาคงไม่แพง

    เมื่อเราได้เครื่องเจนแล้ว ขั้นต่อไป จึงมาคิดว่าทำอย่างไร จึงให้เครื่องเจนหมุนได้ด้วยพลังแม่เหล็ก แบบนี้ น่าจะจบง่ายขึ้นนะครับ
     
  11. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    คำอธิบายแบบง่ายๆ สำหรับคนไม่ค่อยรู้เรื่องเหมือนผม ถ้าสนใจแต่ไม่มีความรู้ ลองอ่านดู อาจจะรู้มากขึ้นครับ

    http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=11435&page=1

    การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยไดนาโม

    ไฟฟ้าที่เราใช้กันทั่วไปตามบ้านเรือน หรือสถานที่ต่างๆ หรือกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการประกอบกิจการต่าง ๆนั้น ทั้งหมดเป็น กระแสไฟฟ้าที่ผลิตด้วยไดนาโม ดังนั้นเราควรรู้สักนิดครับว่า เจ้าไดนาโม ( หรือบางคนอาจเรียกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าก็ได้)
    มันทำประกอบด้วยสิ่งใดบ้างและมันทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้อย่างไร.......ส่วนประกอบหลักๆ หรือส่วนที่สำคัญของเจ้าไดนาโมนี้ไม่มีอะไรมากหรือไม่ซับซ้อนเลยครับ มันประกอบด้วย.........
    1.....แม่เหล็ก ไว้สำหรับทำให้เกิดสนามแม่เหล็กครับ
    2.....ขดลวด ซึ่งต้องเป็นขดลวดที่มีฉนวนหุ้มหรือเคลือบด้วยฉนวน ครับ..............
    3......พวกส่วนประกอบย่อยๆ คือ แปรง , แหวน เป็นต้น.........................ดูภาพครับ

    การเกิดกระแสไฟฟ้านั้นก็คือเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำนั่นเอง ........โดยเมือ่ออกแรงหมุนที่แกนเพื่อให้ขดลวดหมุน ขดลวดก็จะเคลื่อน ที่ตัดกับสนามหรือเส้นแรงแม่เหล็ก ซึ่งได้จากแท่งแม่เหล็กซึ่งวางตำแหน่งดังภาพครับ...........เมื่อขดลวดหมุนตัดกับเส้นแรงหรือสนามแม่เหล็ก ก็จะเป็นการทำให้เพิ่มและลดความเข้มของสนามแม่เหล็กให้แก่ขดลวด ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวด ตามหลักของการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ที่กล่าวแล้วในเรื่องกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำครับ .....ปลายเส้นลวดทั้งสองข้าง
    ของขดลวด ถูกส่งมาตามแกนหมุนไปที่แหวน และไปสัมผัสกับแปรงครับ กระแสไฟฟ้าที่ได้จะถูกส่งมาทางอุปกรณ์พวกนี้ และการที่ไดนาโมจะผลิตไฟฟ้ากระแสตรง หรือกระแสสลับก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบแหวนนี่แหละครับ (ซึ่งรายละเอียดผู้สนใจหาศึกษาได้ครับ ) ..................ในทางปฏิบัติจริงๆ จะสลับซับซ้อนกว่านี้เยอะครับ เช่นบางครั้งไม่ได้ขดลวดหมุน แต่ให้แม่เหล็กหมุน ขดลวดอยู่กับที่ ...หรือมีขดลวดหลายชุดทำมุมกันหมุนในสนามแม่เหล็กครับ .......แต่ถึงอย่างไรก็ตามทำให้เราก็ได้หลักการของไดนาโมอย่างหนึ่งคือ ไดนาโม ทำหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงาน ไฟฟ้า

    คือเราต้องใส่พลังงานกลหรือแรงหมุนให้แก่ไดนาโมก่อน แล้วไดนาโมจะเปลี่ยนแรงนั้นเป็นพลังงานไฟฟ้า ครับ ซึ่งไดนาโม จะทำงานตรงกันข้ามกับมอร์เตอร์ ครับ คือมอร์เตอร์

    มอเตอร์ ทำหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล

    โดยที่มอเตอร์ทำงานโดยเราต้องใส่พลังงานไฟฟ้าเข้าในมอเตอร์ก่อน แล้วมันจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้านั้นเป็นพลังงานกล คืิอ เกิดแรงหมุนเพื่อนำไปทำงานต่างๆ ครับ
    ลองคิดครับ : 1. ถ้าเราอยากให้ไดนาโมผลิตกระแสไฟฟ้าได้มาก น่าจะใช้วิธีใดได้บ้างครับ.............
    2. ถ้าเราหมุนขดลวดกลับทิศกับการหมุนเดิม น่าจะเกิดผลอย่างไรครับ
    3.แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดของไทยเราคือเขื่อนภูมิพล ถามว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่นี่ทำงานอย่างไรครับ

    ไดนาโม คือ "เครื่องมือเปลี่ยนพลังงานกล เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการ เหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า"
    สิ่งที่ช่วยจ่ายกระแสออกเป็นกระแสตรงหรือสลับ คือ วงแหวน มีอยู่ 2 ชนิด
    1. วงแหวนลื่น (Slip Rings) เป็นวงแหวนทองแดงวงกลม มีหน้าที่จ่ายกระแสสลับจาก ขดลวดอาร์เมเจอร์ ออกไปสู่วงจรภายนอก ใช้กับไดนาโมกระแสสลับ
    2. วงแหวนแยก (Split Rings) เป็นวงแหวนผ่าซีก แต่ละซีกต่ออยู่กับปลายขดลวด อาร์เมเจอร์แต่ละข้าง วงแหวนชนิดนี้มักเรียกว่า Commutator มีหน้าที่เปลี่ยนกระแสสลับจากขดลวดอาร์เมเจอร์ เป็นกระแสตรง ใช้กับไดนาโม กระแสตรง
    วงแหวนแต่ละข้างจะเป็น Slip Rings หรือ Commutator ก็ตาม จะมีแท่งคาร์บอน ซึ่งต่ออยู่กับวงจรภายนอก มาแตะสัมผัสอยู่กับวง แหวน เรียกว่า แปรง (Brush) เพื่อรับไฟฟ้าจากอาร์เมเจอร์ ออกไปสู่วงจรภายนอก

    ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

    โดยเด็กวิทย์ 3/2 ร.ร.พิชย


    ไดนาโม (Dynamo) คือ เครื่องกลที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า เราเรียกไดนาโมอีกชื่อหนึ่งว่า เครื่องจ่ายไฟฟ้า (Generator) หรือภาษาชาวบ้านเรียกว่า เครื่องทำไฟ มี 2 ประเภท หลักการสร้างไดนาโม การสร้างไดนาโมมาจากแนวความรู้ที่ว่า
    1.เมื่อวางแท่งแม่เหล็กให้ขั้วต่างกันเข้าหากัน จะทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก ที่บริเวณระหว่างขั้วทั้งสองมาก
    2.การเคลื่อนที่แท่งแม่เหล็กเข้าสู่ขดลวด หรือออกจากขดลวดก็ดี การเคลื่อนที่ขดลวดเข้าสู่หรือออกจากแท่งแม่เหล็กก็ดี การกระทำดังกล่าว ล้วนแตาทำให้ขดลวดตัดกับเส้นแม่เหล็กเป็นผลให้เส้นแรงแม่เหล็กที่ตัดกับลวดตัวนำนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงจึงก่อให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้น เป็นเหตุให้มีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำไหลขดลวดตัวนำ ถ้าเคลื่อนที่เข้าออกเร็วๆ จะได้กระแสมากขึ้น

    เอามาทำความเข้าใจกันใหม่นะครับ
    สำหรับเรื่องนี้ ผมอยากจะให้มอง อุปกรณ์ตัวนี้เป็น Mechines
    ก่อนนะครับ ส่วนจะเป้น Generator หรือ Motor นั้น เรามาดูกันว่า เจ้า Mechines ตัวนี้ จะต้องป้อนพลังงานชนิดไหนเข้าไป
    ถ้า เจ้า Mechines ตัวนี้ รับพลังงานกลเข้าไป มันก็จะกลายเป้น
    Genertor แต่ถ้ารับพลังงานไฟฟ้า เข้าไป ก็จะกลายเป้น Mortor
    ส่วนจะนำแนกชนิด ว่ามีอะไรบ้างก็มีคราวๆ ก็มี มอเตอร์เหนี่ยว
    นำ กับ ซิงโคนัสมอร์เตอร์ ส่วนหลังการทำงานจะไม่พูดถึงดีกว่า
    เพราะมันยาว ละเยอะมากๆ อิอิ ส่วน ไดนาโมนั้น เป้นชื่อที่ช่าง
    ชาวน้านนิยมใช้ เรียก Generator ก็เท่านั้นเอง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2008
  12. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    หายไปนาน กลับมาปลุกสมาชิกชมรม เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากู้วิกฤติโลกจ้า

    เมื่อเวลา 21.00 น. วันนี้ 29 ต.ค. 51 ดูรายการ Discovery Channel : Project Earth : Infinite winds น่าสนใจมาก เป็นรายการสารคดีเกี่ยวกับการสร้างกังหันลมแบบใหม่ล่าสุด เพื่อใช้ประโยชน์จากกระแสลมบนฟ้า สูง 1,000 ฟุต ซึ่งเขาได้ทำการศึกษาวิจัย พบว่าลมบนความสูงนี้ มีความสม่ำเสมอ คงที่ ถ้าสามารถดึงพลังงานลมนี้มาใช้ประโยชน์ในการปั่นไฟ จะสามารถกู้วิกฤติพลังงาน และภาวะโลกร้อนได้

    เป็นการนำเสนอที่ดีมาก เป็นขั้นเป็นตอน และมีการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในแต่ละขั้นตอนจนสำเร็จเป็นโมเดลต้นแบบเรียบร้อยแล้ว จะลองหารูปมาโพสให้ดูต่อไป อยากให้ผู้สนใจรีบติดตามชมได้ในรายการฉายซ้ำเวลาเที่ยงคืน คืนนี้ครับ พลาดแล้วจะเสียดาย

    แต่ก็ไปค้นคว้าคลิปมาแปะให้ดู สำหรับผู้ที่ติดตามชมไม่ทัน ตามลิงค์นี้ครับ

    [ame="http://revver.com/video/1137732/project-earth-infinite-winds-95-9-pm-et-on-discovery/"]Project Earth - Infinite Winds, 9/5 @ 9 PM ET on Discovery! by Discovery -- Revver Online Video Sharing Network[/ame]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 เมษายน 2009
  13. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    รายละเอียดของรายการครับ

    Infinite Winds Dummies' Guide

    An Introduction to Wind Turbine Energy

    Fred Ferguson, a Canadian engineer specializing in airships, thinks the answer to climate change lies in the wind, literally. He's designed a turbine that will use the constant winds that exist at 1,000 feet above sea level to produce energy. The the M.A.R.S. (Magenn Air Rotor System) Floating Wind Generator — essentially a turbine attached to a blimp-like structure — will ultimately be deployed in Mexico.
    Test 1: Dominican Republic — Airspeed

    In this test, Dr. Singer will launch himself into the air on a paramotor (a propeller-powered parachute) where he'll deploy a GPS device to collect wind speeds at different altitudes. These measurements will be fed into further wind tunnel tests and will dictate the final build design and the flight height of the generator.

    The team chose to fly with a paramotor because they could obtain accurate readings without disturbing the air around the vehicle. Other options might have included a helicopter or paraglder, but a helicopter's rotor would contaminate the readings and paragliders are subject to convection currents, making flying height difficult to control and predict.

    Test 2: Kentucky – Tether

    This experiment will test a balloon tether for strength using a crank. The tether will be attached to a crane at one end and a long string of scrap cars on the other. It will slowly lift the cars off the ground one by one. The tether will conduct electricity as it lifts, lighting the car headlights. The tether must be able to hold five cars off the ground with lights on in order to prove it can withstand the equivalent force of the balloon.
    Test 3: Virginia – Wind Tunnel

    In this test, the team will explain the concepts of Magnus Effect, torque, drag and lift using a wind tunnel and smoke on a model, which will be held by one of the scientists inside the tunnel.

    Wind speed data collected during the paramotoring experiment will be used here. Sensors in the specially built wind tunnel test model will feed into a computer providing detailed information about each of these forces and also providing the build team with vital information for the build of the prototype.
    Final Test
    A test model of the M.A.R.S. Generator will be erected in a village in Mexico. The generator will power a water-purification unit.
    The test model will be constructed and built in Wiarton, Canada. Once finished, the test model will be inflated with helium and tested to make sure that it will function correctly. Then, the test model will be shipped to Mexico, where it will be re-inflated and erected in the village location.
    The M.A.R.S. Generator will be connected to a bank of batteries, which will convert the harnessed energy into 10 kilowatts of power.
    <!-- / message -->
     
  14. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ฝรั่งเขาศึกษาแล้ว มีการต่อยอดความรู้ไปอีกด้วยครับ เอาไว้ศึกษาดู สำหรับผู้สนใจ

    Infinite Winds Dummies' Guide

    The Turbine and Balloon

    The M.A.R.S. turbine is designed to fly at altitudes of 1,000 feet. It will measure 325 feet long by 125 feet wide and will produce up to 1 megawatt of power. It will be capable of producing energy in any winds blowing at speeds between 5 and 65 mph.
    The balloon is made of polyurethane, a high-strength woven cotton fabric that is tough as steel weight for weight. It has been coated in polyethylene, with an embedded polyester fiber called Dacron, making the balloon airtight and resistant to UV erosion.
    The production mode will use a material that contains Tedlar, Mylar and Vectran – this material is like a fabric form of plywood and is stronger than steel. The mix of these three substances would give each balloon a life span of more than 20 years. This material would be resistant to UV damage, scuffing and abrasion. It would also successfully contain the helium, ensuring the gas does not escape. (Magenn, the manufacturer, estimates that it would take 18 years for the gas to escape fully.)
    The overall structure resembles a three-dimensional cage, making it an intrinsically stronger design (triangles and spheres are the strongest structures in nature) that can be built to a much larger scale and at much lower cost than current technologies.

    The M.A.R.S. will have three rudder disks attached to it – one in the center and two on either end. These act like the rudder on an airplane tail fin, stabilizing the turbulent effects of drag created by the M.A.R.S. itself and also helping the balloon keep steady in difficult conditions. The rudders work a little like the tail streamers on a kite.
    This device uses low-speed torque as opposed to high-speed velocity, making the operating realm broader than current wind turbines. In sailing terms, it is the equivalent of sailing with the wind as opposed to sailing across the wind.

    A small amount of negative forces, such as wobble, drag and yaw, will be exerted on the balloon, but these will be counter-balanced by the Magnus effect (in which a spinning object creates a whirlpool of rotating air or liquid around itself) and lighter-than-air properties of the helium, as well as the design elements mentioned above.
    Any oddly shaped projectile will wobble when in flight as a consequence of its form. This is why projectiles are made to spin, or have fins on the back. If you take a rugby ball and throw it, it will wobble in flight, but if you spin it, or tape a streamer to the back, it will fly straight. Stability of spinning objects is a consequence of the gyroscopic effect so a combination of the fact that the M.A.R.S. will be spinning with the fins will stabilize it.
    The balloon will produce energy at a substantially lower cost than any other type of wind generation. It is manufactured using existing technologies – literally off-the-shelf stuff that is easily fabricated and maintained. Its design is simple and relatively unsophisticated, so the unit cost should be lower than that of other wind-generation devices. The balloon is mobile, transportable and easily assembled. It can be built in different sizes and so could provide energy for a village or whole areas of cities. It could be brought in to help with natural disasters.
    Ferguson says that M.A.R.S. could be used as a means of providing energy in the developing world and also areas in which traditional wind turbines can't operate. Ninety-five percent of a country does not apply itself well to wind turbines; the MARS wants to provide wind energy to this large proportion of land.
    Its carbon footprint is equivalent to that of a traditional wind turbine. It does not compete with wind turbines, but adds to the possibilities of wind energy.
    The prototype will fly at 300 feet, and will measure 60 feet wide by 40 feet high, including the blades and the generators. It will weigh just under a ton. The prototype will fly in winds blowing at between 15 and 25 mph. It will also provide 1,000 kilowatts of electricity.
    After building this proof-of-concept M.A.R.S., the team will construct seven other prototypes of this size until the design is perfected. They will not build the first production model until this process is completed.
     
  15. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    หลักการของกังหันลมลอยฟ้า ก็คงจะคล้ายๆกับการเล่นว่ากระบอก เวลาว่าวลอยติดลมบนแล้วมันจะไม่ตกลงมา เพราะมีกระแสลมอยู่ข้างบนที่ไหลอยู่อย่างต่อเนื่องนั่นเอง เขาจึงสร้างว่าวกระบอกที่มีเครื่องปั่นไฟขึ้นมา เมื่อเครื่องปั่นไฟฟ้า ได้รับกระแสลมแล้วหมุน ก็ทำให้สร้างกระแสไฟฟ้าได้เหมือนหลักการของเครื่องปั่นไฟนั่นเอง

    แล้วเขาก็อาศัยเชือกที่รั้งว่าวกระบอกซึ่งทำขึ้นมาเป็นพิเศษ ให้เหนียว แข็งแรง เบา และนำไฟฟ้าได้ เป็นตัวนำไฟฟ้าลงมาเก็บหรือใช้งานที่พื้นดิน หลักการก็ง่ายๆ แต่ทำได้ยาก

    รูปของกังหันลมลอยฟ้ารุ่นหนึ่ง ก็หน้าตาเป็นแบบนี้ ต่อไปคงจะเก๋ไก๋-ไฮเทค กว่านี้ ต้องติดตามข่าวกันต่อไป แค่นี้ก็เป็นข่าวดีพอสมควรแล้วครับ

    [​IMG]
     
  16. กิตฺติคุโณ

    กิตฺติคุโณ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2008
    โพสต์:
    59
    ค่าพลัง:
    +61
    กระทู้ความรู้ไม่อยากให้ตกไปครับ
     
  17. archy033

    archy033 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มกราคม 2008
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +11
    ติดตามกระทุ้นี้ตลอด
    ไม่อยากให้กระทุ้นี้ตกไปครับ

    ช่วยดันครับ (ไม่ค่อยมีความรู้เรื่องนี้เท่าไหร่)
     
  18. อ่อนหัดธรรม

    อ่อนหัดธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    488
    ค่าพลัง:
    +968
    พี่ๆที่อยู่ไกล้กัยที่ขายแม่เหล็ก เช็คราคา แม่เหล็กที่แบนๆ เหมือนเหรียญให้หน่อยได้ไม็ครับ
    เอาตัวที่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เซ็น ว่าราคาต่อตัวเท่าไหร่ ร้านไหน จลองดู คิดแบบได้แล้ว เหลือทดลอง
     
  19. อ่อนหัดธรรม

    อ่อนหัดธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    488
    ค่าพลัง:
    +968
  20. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    ติดตามกระทุ้นี้ตลอด
    ไม่อยากให้กระทุ้นี้ตกไปครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...