Magnet Generator .... พลังงาน Free ... ทางเลือกยุคน้ำมันแพง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Pew Pew, 10 กรกฎาคม 2008.

  1. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อธิบายเพิ่มเติมครับ

    แม่เหล็กไฟฟ้า
    แม่เหล็กไฟฟ้าใช้ไฟจากแบตเตอรี่ เป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้คุณหาแบตเตอรี่ หรือ ถ่านไฟฉาย คุณจะเห็นขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว คือขั้วบวก + และขั้วลบ - โดยปกติอิเล็กตรอนซึ่งเป็นประจุลบจะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปที่ขั้วบวกของแบต ถ้าเราต่อสายไฟให้ครบวงจร โดยถ้าคุณต่อสายไฟจากขั้วบวกไปที่ขั้วลบโดยตรง มีปรากฎการณ์เกิดขึ้นดังต่อไปนี้
    1. อิเล็กตรอนไหลจากขั้วลบไปที่ขั้วบวกอย่างรวดเร็ว
    2. พลังงานภายในแบตจะหมดอย่างรวดเร็ว ดังนั้นคุณไม่ควรต่อสายไฟตรง ให้ใช้สวิทซ์ หรือ ต่อตัวต้านทานหรือภาระให้กับแบตด้วย ภาระที่ว่าคือ มอเตอร์ หลอดไฟ และวิทยุเป็นต้น
    3. สนามแม่เหล็กจะเกิดขึ้นรอบสายไฟเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหล สนามแม่เหล็กที่เกิดขี้นนี้จะนำเราไปสู่การสร้างแม่เหล็กไฟฟ้า
    ทดลองสร้างแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยตัวของคุณเอง โดยไปหา
    • ถ่านไฟฉายแบบ AA
    • สายไฟ (ตัดจากสายไฟทั่วไป แล้วปลอกพลาสติกภายนอกออก เอาแต่สายทองแดง ยกเว้นสายโทรศัพท์ใช้ไม่ได้ เพราะสายทองแดงเส้นเล็กไป )
    • เข็มทิศ
    [​IMG]
    ต่อสายไฟไว้กับแบตเตอรี่ โดยผ่านสวิทซ์หนึ่งอันดังรูป วางเข็มทิศไว้บนสายไฟ ขณะที่ยังไม่มีการปิดสวิทซ์ เข็มทิศจะชี้ไปยังทิศเหนือตลอดและนิ่งอยู่อย่างนั้น แต่เมื่อคุณเปิดและปิดสวิทซ์เป็นจังหวะ คุณจะเห็นว่าเข็มทิศสวิงไปมา เพราะกระแสไฟฟ้าทำให้เกิดสนามแมเหล็ก และผลักเข็มทิศออกไป ถ้าคุณกลับขั้วของแบต และทดลองซ้ำ คุณจะเห็นว่าเข็มทิศถูกผลักไปอีกด้านหนึ่ง
    ภาพข้างล่างแสดงทิศทางของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นรอบเส้นลวด ในรูปเป็นภาพตัดของเส้นลวด และมองจากทางด้านบน วงกลมสีเขียวในรูปภาพเป็นภาพตัดของเส้นลวด สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นเป็นรูปวงกลมล้อมรอบเส้นลวด สนามแมเหล็กจะอ่อนลง เมื่ออยู่ห่างจากเส้นลวด ยิ่งห่างยิ่งอ่อน ถ้าคุณสังเกตให้ดี ทิศทางของสนามแม่เหล็กมีทิศทางตั้งฉากกับเส้นลวดเสมอ
    [​IMG]
    สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นรอบเส้นลวด
    เพราะว่าสนามแม่เหล็กรอบเส้นลวดเป็นวงกลม และมีทิศตั้งฉากกับเส้นลวด เราจึงสามารถเพิ่มความเข้มของสนามแม่เหล็กได้โดย ขดเส้นลวดให้เป็นวง ดังรูปข้างล่าง
    [​IMG]
    สนามแม่เหล็กเกิดรอบวงของเส้นลวด
    ถ้าเราเพิ่มขดลวดขึ้นอีกวง สนามแม่เหล็กจะเพิ่มความเข้มขึ้น ยิ่งมีวงขดมากสนามแม่เหล็กยิ่งมากตาม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณพันเส้นลวดรอบตะปู 10 รอบ และต่อขดลวดเข้ากับแบต และนำไปทดสอบดูดคลิบหนีบกระดาน คุณจะเห็นว่าสนามแม่เหล็กที่ได้มีความแรงมากกว่าขดลวด 1 รอบ
    [​IMG]
    แม่เหล็กไฟฟ้าแบบง่ายๆ
    แม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ดังนั้นถ้าเกิดไม่มีกระแสไฟฟ้า อำนาจของสนามแม่เหล็กจะหมดไป


    ทดลองด้วยตนเอง
    • วัดกำลังของแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวด 1 รอบ 10 รอบ และ 100 รอบ โดยลองไปดูดคลิบหนีบกระดาษ หรือตัวแม๊ก ว่ามันสามารถดูดขึ้นมาติดได้มากน้อยเท่าไร
    • ทดลองว่า แรงดันไฟฟ้าขนาด 3 โวลต์ และ 6 โวลต์ มีผลต่อกำลังของสนามแม่เหล็กหรือไม่
    • ถ้าเปลี่ยนจากตะปูเหล็ก เป็น ตะปูอลูมิเนียม หรือแท่งพลาสติก จะมีผลอะไรเกิดขึ้น
    • ลองหาวัสดุที่สามารถกั้นแม่เหล็กได้ ว่ามีหรือไม่
    ใครสนใจ ลองทำดูได้เลยครับ

    ถ้ายังไม่ค่อยเข้าใจ ไปอ่านที่นี่ได้เลยครับผม


    http://www.rmutphysics.com/charud/howstuffwork/electro-mag/electro-magthai3.htm
     
  2. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ขอแก้ไขข้อมูลหน้านี้ครับ เพราะอันนี้ให้ข้อมูลเข้าใจได้ดีกว่าแบบเดิม และมีรูปประกอบชัดเจนดีครับ

    แม่เหล็กไฟฟ้า
    Electromagnetism
    [​IMG]
    กระแสที่ไหลผ่านเส้นลวดจะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบๆเส้นลวด ลักษณะของสนามแม่เหล็กขึ้นอยู่กับรูปร่างของเส้นลวดและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นนี้เขียนได้โดยวิธีเดียวกับสนามแม่เหล็กจากแม่เหล็กถาวร ผลที่เกิดขึ้นเรียกว่า แม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งใช้สร้างแม่เหล็กกำลังสูง และใช้สำหรับทำให้เกิดการเคลื่อนที่โดยกระแสไฟฟ้า​

    Maxwell's screw rule : กฎสกรูของแมกซ์เวลล์

    กล่าวว่าทิศของสนามแม่เหล็กรอบๆเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะอยู่ในทิศที่สกรูหมุนเมื่อขันสกรูเข้าไปตามทิศของกระแสไฟฟ้า​

    [​IMG]

    Right -hand grip rule : กฎกำมือขวา

    กล่าวว่า ทิศของสนามแม่เหล็กรอบเส้นลวดอยู่ในแนวนิ้วมือขวาที่กำรอบเส้นลวด โดยที่นิ้วหัวแม่มือชี้ไปตามทิศของกระแสในเส้นลวด​

    [​IMG]

    coil : ขดลวด

    หมายถึง ขดลวดหลายๆขดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ทำได้โดยใช้เส้นลวดพันรอบวัตถุที่เป็นแกน ตัวอย่างเช่น ขดลวดแบน และโซลินอยด์​

    Flat coil or plane coil : ขดลวดแบน

    เป็นขดลวดที่มีความยาวน้อยเมื่อเทียบกับเส้นผ่าศูนย์กลาง​

    Solenoid : โซลินอยด์

    เป็นขดลวดที่มีความยาวมากเมื่อเทียบกับเส้นผ่าศูนย์กลางสนามแม่เหล็กที่เกิดจากโซลีนอยด์ คล้ายกับแท่งแม่เหล็ก ตำแหน่งของขั้ว ขึ้นอยู่กับทิศของกระแสไฟฟ้า​

    [​IMG]

    Core : แกน

    เป็นวัตถุที่ใช้แกนเป็นขดลวด เป็นสิ่งบอกความเข้มของสนามแม่เหล็ก สารแม่เหล็กชั่วคราว หรือเหล็กอ่อนทำให้เกิดสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูงและนิยมใช้ทำแม่เหล็กไฟฟ้า​

    [​IMG]

    จากพจนานุกรมฟิสิกส์ ฉบับภาพประกอบ แปลโดยสมาคมครูวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2008
  3. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ตัวแม่เหล็กที่ใช้ควรเป็นแบบแม่เหล็กแรงสูงครับ ถึงจะสร้างกระแสได้ดี


    <TABLE class=tborder id=post1301957 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>mead<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1301957", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Apr 2005
    ข้อความ: 5,371
    ได้ให้อนุโมทนา: 51,496
    ได้รับอนุโมทนา 69,460 ครั้ง ใน 5,331 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 6078 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1301957 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->พี่บรรจงใช้แม่เหล็กพลังสูง Neo-dymium จำนวน 24 ชิ้น ชิ้นนึงราคาราว 400 บาท ติดบนแผ่นเหล็กกลม 2 ชิ้น แผ่นละ 12 ตัว เรียงสลับขั้ว + กับ - จนครบ 1 วง เทเรซิ่นลงไปเพื่อล็อคแม่เหล็กไม่ให้เคลื่อนที่จากตำแหน่งที่กำหนดไว้ จากนั้นพันขดลวดทองแดงที่ทำขึ้นเองตามเทคนิคของพี่บรรจงอีก 10 ขดทำเป็นเพลทเรซิ่น และมีเพลาล้อรถยนต์เป็นส่วนประกอบเพื่อทำให้ใบพัดหมุน รวมทั้งไดโอดสำหรับแปลงไฟ้กระแสตรงให้เป็นกระแสสลับ หลักการทำงานของกังหันคือ ทำให้ใบพัดลมหมุนแม่เหล็กทั้งสองชุด ตัดผ่านขดลวดทองแดงอีก 10 ขดที่อยู่ตรงกลาง รายละเอียดลึกๆต้องให้คุณ ZZ มาอธิบายดีที่สุดครับ
    <!-- / message --><!-- attachments -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
    <TABLE class=tborder id=post1301957 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>




    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1301957 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->
    <!-- / message --><!-- attachments -->

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2008
  4. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ทำเจนก่อนครับ

    ขั้นตอนแรกที่ต้องทำให้ได้ก็คือ ต้องทำให้มันหมุนได้เองอย่างต่อเนื่องก่อนครับ

    ยังไม่ต้องมีโหลด แค่นี้ก็โหดพอควรแล้ว
     
  5. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อันนี้ เผื่อว่าคุณคณานันท์ อยากสร้างยานแบบอื่นๆ ที่ใช้พลังงานแม่เหล็กครับ

    ยานพาหนะที่ใช้แม่เหล็กในการขับเคลื่อน
    การทดลองนี้ทำในอุณหภูมิห้องด้งนั้นถึงแม้ว่าจะใช้แม่เหล็กเนโอเดียมซึ่งเป็นแม่เหล็กแรงสูงก็ยังขยับได้น้อย แต่ทว่าถ้าทำให้อุณหภูมิต่ำมากๆ ให้สารอยู่ในสภาพซุปเปอร์คอนดักเตอร์ ก็จะสามารถสร้างแม่เหล็กไฟฟ้าพลังงานสูงขึ้นได้ เราจะได้เรือที่มีแรงผลักดันแรงสูง สามารถใช้เป็นการขนส่งความเร็วสูงได้
    รถไฟลอยด้วยแรงแม่เหล็กหรือที่เรียกกันว่า ลิเนียร์มอเตอร์คาร์จะใช้หลักการเหมือนกัน จะทำให้อยู่ในสภาพซุปเปอร์คอนดักเตอร์ที่อยู่ในสภาพอุณหภูมต่ำมากๆทำให้สามารถสร้างระบบขนส่งความเร็วสูงโดยใช้พลังงานจำนวนน้อยได้​
    [​IMG]
    เรือที่แล่นโดยไม่มีใบพัด
    น่าประหลาดใจจังทำไมเรือแล่นได้ทั้งที่ไม่มีใบและไม่มีใบพัด เรามาทำเรืออนาคตที่แล่นได้ด้วยแรงแม่เหล็กกันเถอะ


    <CENTER>[​IMG]


    ใช้แรงแม่เหล็กดันน้ำทะเล
    [​IMG]
    [​IMG]

    ทดลองสร้างได้เองเลยครับตามลิงค์นี้


    </CENTER>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2008
  6. wara99

    wara99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    379
    ค่าพลัง:
    +892
    ขอเป็นกำลังใจให้สมาชิกทุกท่าน ครับ
     
  7. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อันนี้เป็นการวิจัยเกี่ยวกับการยกรถไฟฟ้า Maglev ให้ลอยอยู่เหนือรางได้

    หามาให้ คุณคณานันท์ โดยเฉพาะ เห็นว่าจะสร้างเจนแบบลอยได้ ไร้แรงเสียดทาน

    ขอยกมาทั้งดุ้น เพื่อให้เครดิตผู้ทำงานวิจัยครับ แต่ไม่สามารถ copy รูปถ่ายมาแปะ ( ทำไม่เป็น ) หากต้องการเห็นภาพของแบบจำลอง ก็ลิงค์ไปดูได้ที่นี่เลยครับ

    http://www.scisoc.or.th/stt/33/sec_d/paper/stt33_D_D0024.pdf


    ผลของกระแสไฟฟ้าและพื้นที่หน้าตัดที่มีต่อการยกตัวของแบบจำลองรถไฟฟ้าแมกเลฟอย่างง่าย ​
    [FONT=Times New Roman,Times New Roman]
    THE EFFECT OF CURRENT AND CROSS SECTION AREA ON THE LEVITATION OF THE SIMPLIFIED VERSION OF MAGLEV TRAIN MODEL. ​
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]
    ปิติ พานิชายุนนท์​
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New], [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]ฉัตร ผลนาค[/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman], [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]ศุภกร กตาธิการกุล[/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman], [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]รุ่งดาว ดำศรี

    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]
    Piti Panichayunon​
    , Chat Pholnak, Supagone Katatikarnkul, Rungdaow Dumsri ​
    Department of Physics, Faculty of Science, Thaksin University, Songkla,Thailand.
    E-mail:piti204@yahoo.com, Tel: (074) 693995, Fax : (074) 693995
    [/FONT]
    บทคัดย่อ​
    [FONT=Angsana New,Angsana New]:
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]รถไฟฟ้าแมกเลฟเป็นทางเลือกใหม่ในการเดินทางที่น่าสนใจอย่างยิ่งทั้งในแง่ของ ความเร็ว และ มีมลพิษที่เกิดขึ้นน้อย ระบบรถไฟฟ้าแมกเลฟสามารถทำความเร็วได้สูงเนื่องจากตัวรถมิได้ สัมผัสกับตัวรางทั้งนี้เนื่องจากแรงยกตัวจากสนามแม่เหล็กและสามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดย เทคโนโลยีมอเตอร์เชิงเส้น ในการศึกษานี้ได้ทำการศึกษาการยกตัวของแบบจำลองรถไฟฟ้าแมกเลฟ โดยเปลี่ยนค่ากระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่แบบจำลองรางรถไฟฟ้าแมกเลฟ และ เปลี่ยนค่าพื้นที่หน้าตัด ของแผ่นอลูมิเนียมซึ่งใช้ทำตัวรถไฟฟ้าแมกเลฟจำลอง จากการศึกษาพบว่าเมื่อค่ากระแสไฟฟ้า เพิ่มขึ้น ระยะยกตัวจะมีค่าเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก กระแสไฟฟ้าที่มีขนาดมากขึ้น ซึ่งส่งผลถึงแรงผลัก กันระหว่างรางและตัวรถในแบบจำลองเพิ่มขึ้น และเมื่อศึกษาโดยการเปลี่ยนค่าพื้นที่ของแผ่น อลูมิเนียมที่ใช้ทำตัวรถไฟฟ้าแมกเลฟจำลอง พบว่าในช่วงต้นเมื่อพื้นที่หน้าตัดมีขนาดเพิ่มขึ้น ระยะ ยกตัวจะเพิ่มขึ้นด้วย โดยเมื่อเพิ่มไปถึงค่าหนึ่งระยะยกตัวจะมีค่าลดลงทั้งนี้เนื่องจาก ระยะยกตัวที่ เกิดขึ้นเป็นผลจากการหักล้างกันระหว่างแรงเนื่องจากสนามโน้มถ่วงกล่าวคือน้ำหนักของแผ่น อลูมิเนียมกับแรงยกตัวกล่าวคือแรงผลักกันระหว่างสนามแม่เหล็กจากขดลวดซึ่งประกอบเป็นรางของ แบบจำลองกับสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นในตัวรถไฟฟ้าแมกเลฟจำลอง ถ้าแรงเนื่องจากสนาม โน้มถ่วงมีค่าน้อยกว่า ระยะยกตัวจะเพิ่มขึ้น แต่ถ้าแรงยกตัว มีค่าน้อยกว่า ระยะยกตัวจะมีค่าลดลง

    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]
    Introduction: [FONT=Times New Roman,Times New Roman]The purpose of the Maglev train is super-high-speed running, safety, reliability, low environmental impact, and minimum required maintenance. It is a non contact transport system with a combination of superconducting magnets (SCMs) and linear motor technology. In our model, the railway is constructed from the solenoid which parallel arrangement and three-phase current is used to propel the train (Figure 1). [/FONT]
    [FONT=Times New Roman,Times New Roman][/FONT]
    [FONT=Times New Roman,Times New Roman]
    Fig. 1 Model of Maglev’s rail ​
    [/FONT]
    [/FONT]
     
  8. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    [​IMG]

    ความรู้เรื่อง ระบบขับดันแม่เหล็ก ของรถไฟฟ้าความเร็วสูง Maglev


    รถไฟพลังงานแม่เหล็กมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า รถไฟแมกเลฟ ( Maglev trains ) ด้วยอำนาจการผลักดันของแม่เหล็กทำให้รถไฟทั้งคันลอยอยู่เหนือรางเล็กน้อย จึงไม่มีแรงเสียดทาน วิ่งได้เร็วเทียบได้กับจรวด ไม่เหมือนกับรถไฟแบบเก่าที่ใช้ล้อเหล็กกลิ้งอยู่บนราง ฟิสิกส์ราชมงคลจะเปิดเผยกลไกการทำงานของรถไฟแม่เหล็ก ให้ทราบในหน้าถัดไป

    แม่เหล็กมีคุณสมบัติพื้นฐานที่พวกเราทราบดีว่า ขั้วแม่เหล็กเหมือนกันดูดกัน และต่างกันผลักกัน แม่เหล็กไฟฟ้าเหมือนกับแม่เหล็กทั่วไปคือมันสามารถดูดเหล็กได้ แตกต่างกันแต่เพียงว่า แม่เหล็กไฟฟ้าต้องใช้กระแสไฟฟ้าสร้างสนามแม่เหล็ก และคุณก็สามารถสร้างแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นด้วยตนเองภายในบ้าน โดยการต่อสายไฟเข้ากับขั้วบวกและลบของถ่านไฟฉาย เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอบสายไฟ

    สนามแม่เหล็กที่เราสร้างขึ้นง่ายๆนี้ คือพื้นฐานของรถไฟแม่เหล็ก ที่ปัจจุบันระบบของมัน มีความสลับซับซ้อนมาก อย่างไรก็ตามเราสามารถแยกออกเป็น 3 ส่วนหลัก ดังนี้
    1. แหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
    2. ขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก
    3. แม่เหล็กขนาดใหญ่วางอยู่ใต้รถไฟ ช่วยให้รถวิ่งอยู่ในรางไม่หลุดออกนอกราง
    ความแตกต่างระหว่างรถไฟแม่เหล็ก กับรถไฟแบบเก่า คือ รถไฟแม่เหล็กไม่ต้องใช้เครื่องจักรหรือเครื่องยนต์ขนาดใหญ่ เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนล้อให้กลิ้งไปข้างหน้า ใช้เพียงแต่เครื่องยนต์ขนาดเล็กทำเป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ให้แสงสว่างภายในรถ หรืออุปกรณ์อำนวยความสะดวกอื่นๆเท่านั้น
    [​IMG]
    รางของรถไฟแม่เหล็ก ในประเทศญี่ปุ่น
    [​IMG]
    ขดลวดที่สร้างสนามแม่เหล็กเรียงข้างๆราง
    ขดลวดที่ใช้สร้างสนามแม่เหล็กเรียงไปตามข้างราง ทำหน้าที่ยกรถไฟทั้งขบวนให้ลอยอยู่เหนือรางประมาณ 1 ถึง 10 เซนติเมตร ขดลวดอีกส่วนหนึ่ง ทำหน้าที่ให้แรงดัน และดึง
    กระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้เป็นกระแสไฟฟ้าสลับ จึงทำให้ขดลวดเปลี่ยนขั้วของแม่เหล็กสลับไปมา สนามแม่เหล็กที่เกิดหน้ารถไฟออกแรงดึงรถไฟ ขณะที่สนามแม่เหล็กด้านหลัง เป็นแรงดัน ออกแรงผลักรถให้ไปข้างหน้า เนื่องจากรถไฟแบบนี้ รถไฟทั้งขบวนลอยอยู่เหนือรางเล็กน้อย ทำให้ไม่มีแรงเสียดทาน เมื่อออกแบบให้หัวรถไฟลู่ลมด้วย มันจะสามารถวิ่งได้เร็วสูงสุด 500 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เทียบกับเครื่องบินโบอิ้ง 777 ซึ่งสามารถบินด้วยความเร็วสูงสุด 905 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

    ลิงค์ http://www.rmutphysics.com/CHARUD/howstuffwork/howstuff1/maglev-train/maglev-trainthai1.htm
     
  9. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอบพระคุณมากครับผม

    ไปดูแม่เหล็กแรงสูงมาแล้วครับเป็นนีโอไดเมี่ยม ชิ้นละ ประมาณ400 บาท ใช้เยอะเหมือนกัน ต้องขอรอต้นเดือนก่อน

    ได้โมเดลการวางเรียงแม่เหล็ก คร่าวๆแล้วครับ รวมทั้งโมเดลเครื่องวัดแรงผลักสนามแม่เหล็ก เพื่อประเมินแรงหมุน

    ต้องขอทดสอบก่อนครับ
     
  10. wara99

    wara99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    379
    ค่าพลัง:
    +892
    ขอเพิ่มเติมความรู้ระดับพื้นฐานเล็กน้อยนะครับ ( ถ้าซ้ำซาก ไร้สาระ ก็ขออภัย )

    แม่เหล็ก ในโลกนี้มี 2 ประเภท คือ
    1. แม่เหล็กธรรมชาติ หากันไม่ได้ง่ายๆ ที่มีตามธรรมชาติรูปร่างไม่แน่นนอน หรือแม่เหล็กโลก ที่จะกลับขั้วในไม่กี่ปีนี้ละครับ ก็ใช่

    2. แม่เหล็กประดิษฐ์ ที่คนทำเองจากการลองผิดลองถูกและพัฒนาขึ้นได้ ก็ยังแบ่งได้อีก 2 ชนิด คือ
    2.1 แม่เหล็กไฟฟ้า ก็ต้องมีไฟฟ้า ขดลวด แท่งเหล็ก จึงเป็นแม่เหล็ก ก็มีข้อดีข้อเสียหลายประการ
    2.2 แม่เหล็กถาวร ที่คุณคณานันท์จะซื้อ นะครับ มนุษย์สร้าง จะเลือกขั้วและรูปแบบตามการออกแบบใช้งาน ( ตามทฤฎีที่จะสร้าง )

    คุณสมบัติของแม่เหล็ก แสดงอำนาจ หรือมีผลลัพธ์ สอง ลักษณะ จึงถูกสมมุติ ให้มี 2 ขั้ว เรียกตามธรรมชาติดั้งเดิมว่า ขั้ว เหนือ ( N ) ขั้ว ไต้ ( S )

    แม่เหล็กที่อยู่อันเดียว จะมีปฏิกิริยากับเหล็กอย่างเดียว คือดูด แต่ถ้า มี 2 อัน ก็เกิดปฏิกิริยาสองอย่าง คือ ขั้วต่างกัน ใกล้กัน ดูดกัน ขั้วเหมือนกัน ใกล้กัน ผลักกัน ปฏิกิริยา จะแรงหรือไม่ ขึ้นอยู่กับระยะห่าง

    แม่เหล็กธรรมชาติไม่ต้องพูดถึง ชิ้นงานที่มนุษย์สร้างสรรพ ล้วนแต่เป็นแม่เหล็กประดิษฐ์เกือบทั้งหมด
     
  11. wara99

    wara99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    379
    ค่าพลัง:
    +892
    ขอเพิ่มเติมความรู้ระดับพื้นฐานต่อ

    แม่เหล็กไฟฟ้า ถูกค้นพบโดยบังเอิน จากการเล่นซนของฟาราเดย์
    ข้อดี 1. ควบคุมทิศทางของสนามแม่เหล็กได้โดยการ สลัลขั้วไฟฟ้า 2. ควบคุมแรงได้โดยการควบคุมกระแส 3. น้ำหนักต่อมวลสาร เบากว่า 4. ออกแบบง่าย ฯลฯ

    ข้อเสีย 1. ต้องใช้กระแสไฟฟ้า(สิ้นเปลืองพลังงานอื่นๆ อีกหลายอย่าง) 2. เกะกะเทอทะ 3. ใช้กระแสมากจะเกิดความร้อนสูงเสียหายได้ง่าย 4. มีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูง ฯลฯ

    จากการนำเอา แม่เหล็กถาวร และ แม่เหล็กที่เกิดจากไฟฟ้ามาผสมกัน ก็จะเกิดสิ่งอื่นตามมา โดยมีองค์ประกอบ 4 อย่าง คือ
    1. ขดลวด
    2. แม่เหล็กถาวร
    3. กระแสไฟฟ้า
    4. แรงกิริยา

    ทั้ง 4 อย่างนี้ เวียนกลับไปกลับมาจึง เกิดเป็น
    มอเตอร์หลายรูปแบบ เป็นไดนาโม(เจนนอเรเตอร์)หลายรูปแบบ

    ที่ทันสมัย ก็ รถไฟลอยฟ้า ดีขึ้นไปอีก เรือวอเทอเจตพลังแม่เหล็ก หรือบางท่านจะทำ ยาน UFO ก็เป็นหลักการเดียวกันแต่เทคโนโลยีเรายังไม่ถึงขั้น

    เรื่องของแม่เหล็กถาวรและแม่เหล็กไฟฟ้ามีการพัฒนายังไม่จบพวกเราก็ต้องคอยดูกันต่อไป
    โดยมีญี่ปุ่นเป็นแกนนำ

    ใน Link ทีมีคลิปการทดลอง การเคลื่อนที่ของรถแบบรางโดยไม่ใช้ไฟฟ้า และขดลวด ก็ได้ผลในระดับห้องทดลอง กับแบบจำลอง ยังไม่เห็นทำกันจริงเป็นคันใหญ่ แบบนี้ไม่เปลืองขดลวด ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า แต่ใช้แม่เหล็ถาวรแทน

    ท่านใดมีทุนลองซื้อแม่เหล็กมาทำเล่นๆ (แต่ผลที่ได้อาจต่อยอดให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์โดยรวมก็ได้ครับ) โดยการสร้างรางจำลองเป็นวงกลมหรือรูปร่างอย่างไรก็ได้ให้วิ่งได้แบบไม่หยุด แล้ววางแม่เหล็กลงไป ถ้าแม่เหล็ก สามารถปรับเอียงซ้ายขาว ปรับตรงได้ยิ่งดี ตัวรถก็ต้องมีแม่เหล็กถาวรปรับองศาได้ด้วย

    หลักการ
    1. ถ้าแกนแม่เหล็กทั้งในรางและในรถตั้งฉากกับพื้นโลก แล้วขั้วแม่เหล็กเป็นขั้วเหมือนกัน รถจะลอยอยู่นิ่งบนราง
    2. ถ้าแกนแม่เหล็กทั้งในรางและในรถ เอียงในระนาบเดียวกัน ก็จะเกิดแรงผลักและเคลื่อนที่ไปตามแกนเอียง ตามหลักของเวคเตอร์ หรือรูปแบบการเคลื่นที่ของเฮริคอปเตอร์ เท่านี้ รถจำลองคันนี้ก็เคลื่อนที่แบบไม่หยุดแล้วครับ นอกจากจะกระเด็นตกจากรางเพราะแรงเข้าหา ศ.ก. ไม่พอ

    3. ถ้าจะให้หยุด ก็ต้องเอียงแกนแม่เหล็ก ไปในทิศทางตรงข้าง และให้นิ่งแกนแม่เหล็กก็ต้องตั้งตรง ตั้งฉากกับพื้น

    4. แม่เหล็กที่ใช้ต้องมี 3 ชุด คือ 1. ชุดทำให้ลอยจากพื้น แกนแม่เหล็กแนวดิ่ง 2. ชุดทำให้ไม่ชนขอบราง แกนแม่เหล็กแนวนอน 3. ชุดทำให้เคลื่นที่ ปรับแกนเอียงได้

    วันนี้แชร์ข้อมูลเท่านี้ก่อนนะครับ นี้เป็นแค่หลักการตามทฤษฏีเท่านั้น ยังไม่เคยทำจริงครับ
     
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอขอบพระคุณอย่างยิ่งสำหรับข้อมูลพื้นฐานครับ

    เชื่อว่าจะช่วยจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ของหลายๆคนได้เป็นอย่างมากครับ
     
  13. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ค้นเจอ การทดลองที่ทำได้สำเร็จอีกหนึ่ง case ครับ

    เขาว่าได้พลังงานมาฟรีๆ จาก generator แม่เหล็กไฟฟ้า จริงๆ และเขาว่าใช้ของ recycle หาได้ทั่วไป เขาเขียนไว้ว่า ให้ช่วยเผยแพร่ข้อมูลไปให้ผู้อื่นด้วย จะได้ช่วยกันต่อยอด ใครสนใจ ลองลิงค์ไปศึกษาดูนะครับ

    http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.magneticenergy.org.uk/Mini%2520Romag%2520Generator/Mini%2520Romag%2520Generator_files/Image187.gif&imgrefurl=http://www.magneticenergy.org.uk/Mini%2520Romag%2520Generator/Mini%2520Romag%2520Generator.htm&h=226&w=264&sz=36&hl=th&start=7&sig2=2j3zQjiz6mur18bAecbyHw&tbnid=3NvVO6oPinYomM:&tbnh=96&tbnw=112&ei=yAGKSKeUCYfw6QOeqsHHDg&prev=/images%3Fq%3Dfree%2Bmagnet%2Bgenerator%26gbv%3D2%26hl%3Dth

    ตัดบางตอนมาให้ดูเป็นตัวอย่างครับ



    <O:p</O:p


    Mini-Romag Generator<O:p</O:p


    [​IMG] <O:p</O:p
    1. Generator runs on free energy provided by magnets and the earth's energy field <O:p></O:p><LI class=MsoNormal style="mso-margin-top-alt: auto; mso-margin-bottom-alt: auto; mso-list: l0 level1 lfo3; tab-stops: list 36.0pt">Generator produces magnetic current equivalent of 3-1/2 volts and 7 amps <O:p></O:p><LI class=MsoNormal style="mso-margin-top-alt: auto; mso-margin-bottom-alt: auto; mso-list: l0 level1 lfo3; tab-stops: list 36.0pt">Generator requires startup of 2100 RPM for 42 seconds <O:p></O:p><LI class=MsoNormal style="mso-margin-top-alt: auto; mso-margin-bottom-alt: auto; mso-list: l0 level1 lfo3; tab-stops: list 36.0pt">Suggested use for generator: charging magnetic battery, powering small magnetic devices like a magnetic water pump <O:p></O:p><LI class=MsoNormal style="mso-margin-top-alt: auto; mso-margin-bottom-alt: auto; mso-list: l0 level1 lfo3; tab-stops: list 36.0pt">Generator does not produce pollution <O:p></O:p><LI class=MsoNormal style="mso-margin-top-alt: auto; mso-margin-bottom-alt: auto; mso-list: l0 level1 lfo3; tab-stops: list 36.0pt">Generator is designed to recycle magnetic energy back to help save environment <O:p></O:p><LI class=MsoNormal style="mso-margin-top-alt: auto; mso-margin-bottom-alt: auto; mso-list: l0 level1 lfo3; tab-stops: list 36.0pt">Materials necessary to construct generator are readily available <O:p></O:p>
    2. Generator requires a load to maintain continuous operation <O:p></O:p>
    We are providing this free information out of love to help save our planet. Please help us in educating people about magnetic energy.
    .
    .
    .

    <O:p>PARTS LIST AND CONSTRUCTION DETAILS<O:p></O:p>
    When building your first unit we suggest using the stated materials.<O:p></O:p>
    1) Aluminum Base Plate<O:p></O:p>
    2) Sleeve Bearing, 1" long, 1/2" inside diameter, oil impregnated brass.<O:p></O:p>
    3) 4" long by 1/2" diameter Brass Shaft<O:p></O:p>
    4) Brass 2" diameter Rotor, 1-3/4" long<O:p></O:p>
    5) Six rotor slots, each 1-3/4" long by .260 deep by 23/32" wide. These slots are spaced exactly 60 degrees apart.<O:p></O:p>
    6) One slot cut in center of Brass Rotor, 360 degrees around, 1/4" wide by<O:p></O:p>
    5/16" deep.<O:p></O:p>
    7) 12 slots (formed from the six slots as the 360 degree cut is made). Each slot is lined with .010 thick mica insulation.<O:p></O:p>
    8) A total of 228 pieces of U-shaped .040 thick copper coated steel wires. Each slot (Part #7) has 19 pieces of these wires fitted into the Mica, thus these wires do not contact the Brass rotor. The lead edge of these wires (See Figure 7) is flush with the Rotor's outer surface and the trail edge protrudes 1/8" above the Rotor's outer diameter.<O:p></O:p>
    9) Eleven complete turns of .032 thick copper coated steel wire. These 11 turns or 'wraps' accumulate to 3/8" wide and the same pattern is placed around all 12 magnets. When placed into the bent wires #8, they are a snug fit making firm contact.<O:p></O:p>
    10) Are 12 pieces of .005" thick mylar insulation inserted into the cores of the wires #9.<O:p></O:p>
    11) 12 permanent magnets, insulated with the mylar, to not contact wires # 9. These magnets measure 3/4" long, 5/8" wide, 3/8" thick and are made of a special composition and strength. Alnico 4, M-60; 12 AL, 28 Ni, 5 Co, bal Fe, Isotropic permanent magnet material cooled in magnetic field, Cast 9100 TS. 450 Brin, 2.2 Peak energy product. When inserted in the rotor the outer faces of these 12 magnets are not to be machined to a radius. The center of these magnets pass the center of the coils with 3/32" clearance. The edges, where the wires are wrapped, pass 1/32" away from the coils. This 'changing magnet spacing' aids in not only the release cycle but also contributes to rotational movement. (Sharp magnet edges which are facing the coils are to be sanded to a small smooth radius.)<O:p></O:p>
    12) Magnet polarity placement into Rotor. (See Figure 5.)<O:p></O:p>
    13) Connection pattern for wires wrapped around magnets. (See Figure 6.) The 12 wire wraps are divided into two sections, upper and lower of six each. There are no connections between these sections. The magnetic flow direction between the upper 6 wraps and the lower 6 wraps is attained by the 'flow direction' as shown in Figure 5. Viewing Figure 6 shows the wires wrapped around the magnet starting at the top 'north' half and then after 11 complete turns the wire exits at the lower 'south' half. As this wire then goes to the next magnet it arrives at an attract wire which is its 'north' side. Thus all wires get interconnected from south to north magnet half or north to south magnet half. The actual connections should be crimped copper clips not solder with insulation tubing to prevent contact to the Rotor body.<O:p></O:p>
    14) A .030 thick copper tube (stiff material) 2" long by 21/2" inside diameter.<O:p></O:p>
    15) Are six slots cut at the top of tube #14. These slots are 5/8" wide by<O:p></O:p>
    1/32" deep spaced at 60 degrees apart.<O:p></O:p>
    16) Are six slots cut at the bottom of tube #14. These slots are 5/8" wide by 5/16" deep and in line with the upper slots #15.<O:p></O:p>
    17) Six copper tube mounting points.<O:p></O:p>
    18) Acrylic ring to hold Part #14, measuring 3-3/4" O.D., 21/4" I.D., 3/8" thick bolted directly to Part #1. This ring has a .030 wide groove cut 1/4"deep to allow the six copper tube mounting points, Part #17, to be inserted.<O:p></O:p>
    19) A .002" thick plastic insulation paper to be placed around the inside and outside of Part #14.<O:p></O:p>
    20) Are six coils of insulated copper wire, each coil having 72 turns of .014 thick wire. Each coil is wound with two layers, the bottom layer to completely fill the 5/8" wide slot with 45 turns and the top layer to span 5/16" wide with 27 turns. To be sure each coil has the exact wire length or 72 turns, a sample length wire is wrapped then unwound to serve as a template for six lengths. A suggested coil winding method is to fill a small spool with one length then by holding the copper tube at the lower extension, then start at the plus wire in Figure 2 and temporarily secure this wire to the outer surface of the tube. Next, place the pre-measured spool of wire inside the tube, wrapping down and around the outside advancing clockwise until the 5/8" slot is filled with 45 turns. Then, return this wire back across the top of the coil for 15/32" and winding in the same direction again advance clock-wise placing the second layer spanned for 5/16" with 27 turns. This method should have the second layer perfectly centered above the first layer. After winding this coil, repeat the process by again filling the small spool with another length of pre-measured wire. A very important magnetic response happens as all six coils have their second layers spaced as disclosed.<O:p></O:p>
    21) This number identifies the top view of the second layer.<O:p></O:p>
    22) Connection pattern for six coils shown in Figure 2. When the unit is driven at start-up (hand crank) for 42 seconds at 2100 RPM, all six jumper wires must be together which means the plus wire goes to the minus wire connected by the start switch. After 42 seconds the load is added to the circuit and the start switch is opened. To double check your connections between the coils, note that the finish wire of coil #1 goes to the finish wire of coil #2, which is top layer to top layer. This pattern then has start of coil 2 (bottom layer) going to start of coil 3 (also bottom layer). When the copper tube with the coils is placed around the rotor, the distance from any magnet to any coil must be identical. If it measures different, acrylic holding shapes can be bolted to the aluminum base, protruding upward, and thus push the copper tube in the direction needed to maintain the spacing as stated.<O:p></O:p>
    23) Wires to load.<O:p></O:p>
    24) Wires to start switch. <O:p></O:p>
    25) Rotational direction which is clock-wise when viewing from top down.<O:p></O:p>
    26) Acrylic dome for protection against elements.<O:p></O:p>
    27) Coating of clear acrylic to solidify rotor. Do not use standard motor varnish. Pre-heat the rotor and then dip it into heated liquid acrylic. After removal from dip tank, hand rotate until the acrylic hardens, then balance rotor. For balancing procedure, either add brass weights or remove brass as needed by drilling small holes into rotor on its heavy side.<O:p></O:p>
    28) Insulation tubing on all connections.<O:p></O:p>
    29) Shaft for start purposes and speed testing (if desired).<O:p></O:p>
    This concludes the parts list for the Mini-Romag. Please share this information with others.<O:p></O:p>
    </O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2008
  14. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ส่วนอันนี้ มีคนนำไปศึกษาต่อครับ ลิงค์ไปดูได้ที่นี่

    http://jnaudin.free.fr/html/mromag.htm

    [​IMG]
    The Mini-Romag Generator
    Design and Drawings by Jean-Louis Naudin
    Courtesy of Kevin O. from "Magnetic Energy"
    created on 03-19-99 - JLN Labs- last update on 11-15-99​

    <HR>The Mini Romag generator from Magnetic Energy uses the principle of moving magnetic flow named "the magnetic current" for generating electrical power. According to Magnetic Energy this generator is able to produce 3.5 volts, 7A DC ( about 24 Watts ) of free electricity while its generate sufficient power to sustain itself...
    This generator need to be started by an external motor during about 42 seconds at 2100 RPM. After this charging process, when the energy flow is established in the Romag generator, the motor can be removed and free electrical energy can be used.
    This Romag generator is a new revolutionary concept which generates electrical energy without using the first flow of current generated by magnetism, it uses only the untapped natural ressource of the magnetism...

    สนใจต้องลิงค์ไปอ่านต่อในหน้าเวปของเขาก็แล้วกันครับ

    HOW THE UNIT WORKS :

    One important magnetic assembly is the circuitry which allows this interchange of energy. This is a recycling of a stabilized magnetic/electro energy not electro/magnetic because the field of force is not a case of electrical input, an input that created the magnetic energy, but rather a build—up of magnetic energy which caused an energy thrust.

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2008
  15. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อีกตัวอย่างครับผม

    Sundance Generator / Humming Bird Motor
    Home Under Construction Last Edit 12-24-2007 Contact
    Pollution Free Energy

    [​IMG]
    Magnet Pull Basics YouTube Video
    This is the Sundance Generator and Humming Bird Motor
    Creating Almost Free Electricity By Magnetic Energy Harvesting

    Help Clean Up Our Air Quality
    [​IMG]
    This Type of Generator Can Provide Electrical Services to...
    15 All Electric Homes and Would Not Need Fuel of Any Kind!
    This Machine Could Save Some Of The People In The World From
    Starvation And... Give Power to Homes in Remote Areas.

    Watch This Video

    The last time we had a power outage in America, George Bush suggested that we upgrade the system. This is the type of upgrade America needs because the Sundance Generator would distribute power to many places. Today when the power goes out it is because, the power comes from far away, this puts the whole population at risk.

    America must Import over 20 Million Barrels of Oil everyday to keep our cars rolling down the Road. The truth is that there is not enough Oil to Supply the Worlds Cities Today. Why does the US Government (Energy Department) ignore the obvious solutions? Money and Profits are more important to many of the Government Employees than the Truth, Freedom and Security of the people. No person should be allowed to work for Government that is part of or an owner of a rich corporation, this is a conflict of interest. This is why the people dont get what is best for the people.

    It is time to Develop new Technologies
    We Dont Need Oil And Gasoline Free Electricity

     
  16. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    [​IMG]

    Model อีกรูปแบบหนึ่งครับ อันนี้จะเปลืองแม่เหล็กสักหน่อย สงสัยซื้อแม่เหล็กมาแล้ว กินแกลบแทนข้าวทั้งเดือนแน่ๆ เขาอธิบายไว้อย่างละเอียดเลย ลองลิงค์เข้าไปดูได้ที่นี่เลยครับ

    http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://i288.photobucket.com/albums/ll198/koretech/image001.gif&imgrefurl=http://www.dreamslaughter.com/kore/kore.htm&h=320&w=480&sz=1768&hl=th&start=57&sig2=_WAgyrQX8V4x1okYq8GJ-w&tbnid=8RZ_ttxWMKBjVM:&tbnh=86&tbnw=129&ei=Ww2KSJKzFofw6QOrq8HJDg&prev=/images%3Fq%3Dfree%2Bmagnet%2Bgenerator%26start%3D40%26gbv%3D2%26ndsp%3D20%26hl%3Dth%26sa%3DN



    K.O.R.E​

    Magnetic Overly-efficient Variable Engine Rotary​



    [​IMG]




    Magnetic Force - Using Permanent Magnets as a Motive SourceAlthough all that may be needed to start the system is a good push, one may need to attach a wiring harness between the coils, battery, electronics bundle and generator. And of course if the output coils are putting out enough, this would be a self contained generator.



    [​IMG]




    The output coils can be created in many ways. A simple way would be to have a continuous winding where the second winding overlaps the first completed winding by continuing on top of and over the first complete winding.​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2008
  17. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    (sing)ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับแม่เหล็ก และ แม่เหล็กไฟฟ้า (sing)



    สำหรับผู้ที่สนใจ อยากมีความรู้พื้นฐานความรู้ สามารถเข้าไปอ่านทำความเข้าใจได้ง่ายๆ เป็นภาษาไทยครับ มีภาพประกอบด้วย ดีมาก ๆ (good)


    ผมก้อปมาแปะไม่ได้ ต้องลิงค์ไปอ่านเอาเองครับ


    http://physics.science.cmu.ac.th/courses/207100/แม่เหล็กไฟฟ้า.ppt#256,1,Slide 1
     
  18. wara99

    wara99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    379
    ค่าพลัง:
    +892
    ขอขอบคุณเพื่อนสมาชิกที่ช่วยกันเติมเต็ม

    การทดสอบหรือทดลองเกี่ยวกับแม่เหล็ก ต้องซื้อมาเล่นจริงๆ จึงจะเกิดทักษะและความรู้ครับ จำนวนก็สำคัญ ถ้าจำนวนน้อยเกินไปก็ไม่เกิดความคิดสร้างสรรพ จำนวนมากก็ กระเป๋าแห้ง ต้องเสี่ยงดูนะครับ

    คลิปวิดีโอ ที่เพื่อนสมาชิกแนะนำ เป็นพื้นฐานดีครับ นั่นคือทฤษฎีเบื้องต้น ทำก๊อกแก็กไม่ให้คนดูจับทางถูก

    ในคลิปจานหมุนหรือโรเตอร์เป็นอิสระ ก็หมุนเร็วได้ ไม่ได้แสดงว่า จะรับ โหลดได้

    จริงๆแล้วในการใช้งานจริง โรเตอร์ ต้องรับโหลดมากๆ เพราะเอาไปใช้งาน และต้องใช้งานได้จริง

    เราคงต้องมาดัดแปลงประยุกต์ หน่อยนะครับ

    แรงแม่เหล็กจะมีแรงสูงสุดที่จะทำปฏิกิริยาต่อกัน คือจะต้องใก้ลกันที่สุด และอาศัยแรงเฉื่อย หรือโมเมนตัม น้อยที่สุด เราก็จะได้มอเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด แม้จะหมุนในรอบต่ำ
     
  19. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    กำลังคิดว่าหากเราผสมผสานทฤษฏีของพูลเลย์ และลูกข่างไจโร มาร่วมกับการหมุนด้วย

    เปรียบเทียบกับการลดน้ำหนักของโหลดในการหมุน เพื่อลดแรงต้านการหมุน

    อย่างไหนน่าจะมีประสิทธิภาพมากกว่ากันน่ะครับ

    ส่วนการลดแรงเสียดทานในการหมุนด้วยการใช้ ลูกปืนแบริ่งประสิทธิภาพสูงนั้นจำเป็นอยู่แล้วครับ
     
  20. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    วันนี้ เวลา 20.00 น. ดูรายการ National Geographic

    รายการ Preserve our Planet ตอน Planet Mechanics

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=SearchResultGroupItemTitle>[​IMG]</TD><TD class=SearchResultGroupItemTitle width="90%">(45)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE id=SearchResultList1_ResultDataGrid style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; WIDTH: 100%; BACKGROUND-COLOR: white; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" cellSpacing=1 cellPadding=3 border=0><TBODY><TR class=dgitem vAlign=top align=middle><TD align=middle><INPUT id=SearchResultList1_ResultDataGrid__ctl7_chkSel onclick=childcheckAll(this) type=checkbox name=SearchResultList1:ResultDataGrid:_ctl7:chkSel> </TD><TD style="COLOR: black">27-Jul-2008 20:00 </TD><TD style="COLOR: black">45 </TD><TD style="COLOR: black" align=left>PLANET MECHANICS :
    AIR PROPELLED SANDWICH(OR513576) </TD></TR><TR class=dgalter vAlign=top align=middle><TD align=middle><INPUT id=SearchResultList1_ResultDataGrid__ctl8_chkSel onclick=childcheckAll(this) type=checkbox name=SearchResultList1:ResultDataGrid:_ctl8:chkSel> </TD><TD style="COLOR: black">27-Jul-2008 21:00 </TD><TD style="COLOR: black">45 </TD><TD style="COLOR: black" align=left>TRIBAL ODYSSEY [NGC] :
    RENDILLE: CEREMONIES OF THE NEW MOON </TD></TR><TR class=dgitem vAlign=top align=middle><TD align=middle><INPUT id=SearchResultList1_ResultDataGrid__ctl9_chkSel onclick=childcheckAll(this) type=checkbox name=SearchResultList1:ResultDataGrid:_ctl9:chkSel> </TD><TD style="COLOR: black">27-Jul-2008 22:00 </TD><TD style="COLOR: black">45 </TD><TD style="COLOR: black" align=left>AIR CRASH INVESTIGATION S5 :
    MIRACLE FLIGHT AKA DEADLY GLIDE(OR513574) </TD></TR><TR class=dgalter vAlign=top align=middle><TD align=middle><INPUT id=SearchResultList1_ResultDataGrid__ctl10_chkSel onclick=childcheckAll(this) type=checkbox name=SearchResultList1:ResultDataGrid:_ctl10:chkSel> </TD><TD style="COLOR: black">27-Jul-2008 23:00 </TD><TD style="COLOR: black">45 </TD><TD style="COLOR: black" align=left>THE MAFIA :
    THE GODFATHERS (4) </TD></TR><TR class=dgitem vAlign=top align=middle><TD align=middle><INPUT id=SearchResultList1_ResultDataGrid__ctl11_chkSel onclick=childcheckAll(this) type=checkbox name=SearchResultList1:ResultDataGrid:_ctl11:chkSel> </TD><TD style="COLOR: black">28-Jul-2008 00:00 </TD><TD style="COLOR: black">45 </TD><TD style="COLOR: black" align=left>PLANET MECHANICS :
    AIR PROPELLED SANDWICH(OR513576) </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เป็นตอนเกี่ยวกับนักประดิษฐ์ 2 คน ชื่อ นิค กับ เจมส์ ที่รับจ้างคิดค้น ดัดแปลงของใช้แล้ว วัสดุ เก่า ๆ มาประดิษฐ์เป็นเครื่องใช้ โดยมุ่งเน้นการช่วยลดขยะ และ ลดการก่อมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม น่าดูมาก เขาให้ความรู้เกี่ยวกับการดัดแปลงอย่างเป็นระบบ เช่น

    เริ่มจากการไปหารถยนต์เก่าที่เขาทิ้งแล้ว มาดัดแปลงเป็นรถยนต์พลังงานสะอาด ติดตั้งเครื่องสร้างพลังงานไฟฟ้าจากพลังธรรมชาติ เช่น กังหันลมบนหลังคา และ Solar Cell ไว้เก็บพลังงานแสงอาทิตย์ มาติดตั้งในรถ ใช้เป็นรถปฏิบัติการเคลื่อนที่

    แล้วไปรับจ้างผลิตรถจักรยานไร้มลพิษ เอาไว้ส่งของให้กับร้านขายแซนวิช ชื่อดัง ในประเทศอังกฤษ เขาแสดงให้เห็นการเริ่มวางแผนคิด การทดลอง และ การประดิษฐ์ดัดแปลงรถจักรยาน โดยอาศัยพลังงานลมในการช่วยขับเคลื่อน

    อยากแนะนำให้ผู้รักการประดิษฐ์ ดัดแปลง ได้รับชมรายการนี้ครับ ดีมากๆ มีบางช่วงเขาไปศึกษารถยนต์พลังงานลมที่ฝรั่งเศส และทดลองขับให้ดูด้วยครับ น่าสนใจดี

    เขาจะ re-run คืนนี้ครับ True vision (UBC) ช่อง National Geographic เวลา24.00 น.

    เราน่าจะเอาโครงการของเราไปให้เขาลองทำดูนะ

    <TABLE class=SearchResultTable width="100%"><TBODY><TR><TD class=SearchResultGroupItem colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=SearchResultGroupItemTitle></TD><TD class=SearchResultGroupItemTitle width="90%"></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD class=SearchResultItem><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=SearchResultItemTitle></TD><TD class=SearchResultItemTitle width="90%"></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD class=SearchResultItem></TD></TR><TR><TD class=SearchResultItem><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=SearchResultItemTitle></TD><TD class=SearchResultItemTitle width="90%"></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD class=SearchResultItem align=middle></TD></TR><TR><TD class=SearchResultItemEnd><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=SearchResultItemTitle></TD><TD class=SearchResultItemTitle width="90%"></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD class=SearchResultItemEnd align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...