Magnet Generator .... พลังงาน Free ... ทางเลือกยุคน้ำมันแพง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Pew Pew, 10 กรกฎาคม 2008.

  1. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    มำทำความคุ้นเคยกับอนาคตกันหน่อยคร้าบ....


    เดี๋ยวอีกหน่อยก็ได้แวะ "ปั้มไฟฟ้า" กันแล้ว!

    [​IMG]


    คำจำกัดความคำว่า "ปั้ม" จะถูกเปลี่ยนจากการให้บริการน้ำมัน และก๊าซ เป็นให้บริการ "ชาร์จไฟ" ให้กับรถยนต์ จักรยานยนต์ และจักรยานไฟฟ้า ในเร็วๆ นี้
    หลายปัญหาที่เกิดขึ้นในวงการคมนาคมทั่วโลก ที่หนีไม่พ้นคือ อัตราน้ำมันที่วิ่งสูงลิ่ง ปัญหามลภาวะในเมืองใหญ่ ปัญหาเศรษฐกิจซบเซา ฯลฯ ทำให้ผู้คนในวงการนี้ต่างพากันหาทางออกไปยัง "รถยนต์ที่ใช้พลังงานจากระบบไฟฟ้า" ที่ทั้งประหยัด และสะอาดปราศจากมลพิษด้วย จึงเป็นที่มาของ แนวคิดรถยนต์ "ไฮบริด" ที่ผสานระหว่าง การใช้พลังงานน้ำมัน หรือ ก๊าซ กับแบตเตอรี่ไฟฟ้า
    และวันนี้หลายประเทศทั้งยุโรป อเมริกา และเอเชีย ต่างตื่นตัว และพร้อมใจกันสร้าง "ปั้มไฟฟ้า" เพื่อรองรับกับปริมาณการชาร์จไฟให้กับยานพาหนะรุ่นใหม่ในอนาคต
    หนูอุ่มจึงรวบรวมเรื่องราว "ปั้มไฟฟ้า" ของแต่ละประเทศมาฝากกันค่ะ
    และพิเศษกับการเผยโฉมแบตเตอรี่ที่เหมาะสำหรับใช้กับรถไฟฟ้าโดยเฉพาะด้วยค่ะ

    ใครอยากอินเทรนด์ มีเรื่องเก๋ ๆ ไปเล่าในกลุ่มเพื่อน ก็รีบคลิกอ่านกันได้เลยค่ะ


    ก่อนหน้านี้หนูอุ่มเคยเล่าเรื่องปั้มไฟฟ้า แห่งแรกที่อเมริกามาแล้ว รวมไปถึงการแนะนำรถยนต์พลังงานไฟฟ้าที่ดีไซน์เก๋ ๆ อีกมากมาย
    เช่นที่งาน Plug-in Car 2008 รถดีไซน์แปลก แอนโทร โซโล่
    รถทรงกลม แคมเปอร์ โลตัส จากดีไซน์เนอร์ชาวจีน


    แต่วันนี้เราจะมาทัวร์ "ปั้มไฟฟ้า" ของแต่ละประเทศกันค่ะ


    [​IMG]


    [​IMG]

    ในยุโรปขึ้นชื่อเรื่องการสร้างนวัตกรรมที่มาจากพลังงานสะอาด ทั้งนอร์เวย์ สวิสเซอร์แลนด์ ต่างพากันติดตั้งปั้มเติมไฟฟ้าให้กับรถยนต์ไฟฟ้ากันทั่วเมือง




    โดยนอร์เวย์วางแผนให้มีการติดตั้งปั้มชาร์จแบตเตอรี่ให้รถยนต์ครบ 100 สถานี ภายในปลายปีหน้า
    แถมมีโครงการกระตุ้นให้คนหันมาเปลี่ยนเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ด้วยบริการชาร์จฟรี และจอดรถฟรีอีกด้วย



    ส่วนทางเอเชีย ที่ญี่ปุ่นก็เพิ่งจะเปิดให้บริการ "ปั้มชาร์จไฟฟ้า" ที่ลานจอดรถ 9 แห่งในใจกลางเมืองโตเกียวไปเมื่อสัปดาห์ก่อน
    ด้วยนวัตกรรมที่ก้าวหน้าของการชาร์จไฟให้แบตเตอรี่ ซึ่งชาร์จเพียง 5 นาทีก็สามารถแล่นได้ไกลถึง 40 กิโลเมตร

    และตอนนี้ที่จีน ประเทศมหาอำนาจใหม่ก็ไฮเทคไม่แพ้กัน เตรียมสร้างสถานีบริการชาร์จไฟฟ้า

    [​IMG]
    โดยบริษัท State Grid Corporation ซึ่งเป็นยักษ์ใหญ่ในวงการผลิตและส่งถ่ายพลังงานไฟฟ้าแห่งชาติ
    ได้เผยว่า ขณะนี้จีนกำลังรุกหนักในการสร้าง "ปั้มเติมไฟฟ้าให้กับรถจักรยาน และรถยนต์"
    ซึ่งวางแผนจะเปิดให้บริการในเมืองใหญ่อย่าง เซี่ยงไฮ้ ปักกิ่ง เทียนจิน และหัวเมืองใหญ่ๆ อีกมาก
    สนนราคาก่อสร้างจุดละประมาณ 1.2 - 1.4 ล้านบาท
    อันที่จริงแล้ว ทางจีนได้เปิดตัวให้บริการ "ปั้มเติมไฟฟ้า" ไปเมื่อช่วงโอลิมปิกที่ผ่านมา คาดว่าภายใน 2 ปี จีนจะมีรถยนต์ที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิง และพลังงานจากไฟฟ้าประมาณ 10,000 คันวิ่งตามท้องถนน ใน 10 เมืองใหญ่
    และหวังว่าภายใน 5 ปี 1 ใน 10 ของการผลิตรถยนต์จากจีน จะต้องเป็นรถที่ใช้พลังงานสะอาด เจ้ากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกล่าวอย่างมีวิสัยทัศน์

    เพิ่มเติมความรู้กันอีกนิดกับโลกแห่งรถไฟฟ้า ด้วยการทำความรู้จักกับ "แบตเตอรี่รุ่นใหม่" ที่จะนำมาใช้กับรถไฟฟ้าในอนาคตกันค่ะ

    [​IMG]
    แบตเตอรี่ที่เห็นในภาพนี้ เรียกว่า แบตเตอรี่แบบลิเธียม ไอออน ฟอสเฟส (Lithium Iron Phosphate :LiFePO4)
    ที่กำลังจะกลายมาเป็นแบตเตอรี่มาตรฐานสำหรับรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า
    ซึ่งแบตเตอรี่ชนิดนี้มีข้อดีกว่า แบตฯ ที่เราใช้กันในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นเพลงดิจิตอล และโทรศัพท์มือถือ ที่เป็นประเภท ลิเธียม โคบอสต์ ไดออกไซด์ (Lithium Cobalt Dioxide : LiCoO2) ตรงที่สามารถประจุไฟได้มากกว่า ทำให้ใช้งานได้ยาวนานกว่า อีกทั้งยังปลอดภัยมากกว่าด้วย สามารถให้พลังงานได้อย่างเต็มเปี่ยมจนกว่าแบตจะหมด
    สามารถชาร์จได้จนเต็มภายในเวลาประมาณ 2.5 ชั่วโมง
    วัสดุที่นำมาใช้ในการทำแบตฯประเภทนี้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นพิษน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับบรรดาตระกูลแบตฯทั้งหมด
    ใช้งานได้นานถึง 7 ปี หรือมีรอบการชาร์จทั้งหมด 3,000 ครั้ง
    [​IMG]


    และตอนนี้บริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของอเมริการอย่าง GM ก็ได้แบตเตอรี่ประเภทนี้ไปใช้กับรถยนต์ไฮบริดของตนแล้ว

    โอ้โห ไม่น่าเชื่อเลยนะคะว่า เราจะได้แวะเติมปั้มไฟฟ้ากันแล้ว ซึ่งสิ่งที่เห็นอยู่ในบทความนี้ทั้งหมดถือเป็นนิมิตรหมายที่ดี
    สำหรับโลกสีเขียวของเราค่ะ

    ดีใจจัง และอยากให้เกิดขึ้นที่กรุงเทพเมืองฟ้าอมรของพวกเราด้วยค่ะ
     
  2. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อีกนวตกรรมแห่งอนาคตคร้าบ....

    เครื่องซักผ้ารุ่นใหม่ (แทบ) ไม่ต้องใช้น้ำ


    [​IMG]


    นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยลีดส์ ที่ร่วมมือกับบริษัทเอกชน เผยโฉมเครื่อง "ซักผ้าโดย(แทบ)ไม่ต้องใช้น้ำ" ซ้ำยังบอกว่าคนอังกฤษได้ฤกษ์ใช้นวัตกรรมนี้ได้ในปีหน้า

    ถือว่าเป็นการปฏิวัติวงการซักผ้าของโลก เพราะเครื่องซักผ้าแบบนี้ ช่วยลดการใช้น้ำ (เพราะใช้น้ำเพียงถ้วยเดียว) และพลังงาน (เพราะใช้พลังงานเพียง 2% เมื่อเทียบกับเครื่องซักผ้าทั่วไป)

    อยากรู้ว่าเครื่องซักผ้านี้ใช้งานอย่างไร ต้องคลิกต่อค่ะ


    ขั้นตอนการซักง่ายมาก และแทบไม่ต่างไปจากเครื่องซักผ้าที่เราใช้กันอยู่ ณ ปัจจุบัน 1. ใส่เสื้อผ้าที่ต้องการซักลงไป
    2. เครื่องจะจัดการใส่แผ่นพลาสติกเพื่อขจัดคราบ น้ำหนักราว ๆ 20 กิโลกรัมลงไปผสมกับผ้า
    3. ใส่น้ำที่ผสมผงซักฟอก 1 ถ้วยลงไป
    4. น้ำของผงซักฟอกจะทำการขจัดคราบต่างๆ และแผ่นพลาสติกก็จะดูดซับคราบนั้นเอาไว้
    5. สุดท้ายเปิดฝาด้านล่างตัวเครื่องเก็บแผ่นพลาสติกเอาไว้ใช้ครั้งต่อไป

    ผู้ผลิตเคลมว่าสามารถขจัดคราบทั้งกาแฟ ลิปสติกได้หมดจรด

    จุดเด่นของเครื่องซักผ้านี้อยู่ที่ "แผ่นพลาสติก" ที่ดูดซับคราบได้ และยังสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ประมาณ 100 ครั้ง (หรือราวๆ 6 เดือน)

    เท่ากับเราสามารถประหยัดน้ำ (ที่ปกติเราใช้น้ำกันประมาณ 21 ลิตรต่อวัน / บ้าน) และไฟอย่างมหาศาลจากนวัตกรรมนี้

    ว่าแล้วอยากให้บ้านหนูอุ่มมีบ้างจังค่ะ!
     
  3. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อันนี้ คงไม่อยากใช้ แต่ก็ดูไว้ เตรียมตัว เตรียมใจกันไว้นะคร้าบ.... ถ้าแก้ไขโลกร้อนไม่หาย รับรองไม่ไกลเกินเอื้อม
    หลอดกรองน้ำ : กรองชีวิต - นวัตกรรมเปลี่ยนโลก




    [​IMG]

    คุณพี่ๆ ลองนึกย้อนภาพเหตุการณ์เหล่านี้ไปพร้อมๆ กับหนูอุ่มนะคะ
    - วันนั้นเราเปิดน้ำทิ้งไว้ขณะแปรงฟัน...
    - วันก่อนนั้นที่เราซื้อน้ำเปล่า 1 ขวดที่ 7-11 แล้วดื่มเพียงครึ่งขวดแล้วก็ทิ้งลงในถังขยะ...
    - วันก่อนหน้านั้นที่เราใช้เวลาพักผ่อนในอ่างน้ำอุ่นที่มีน้ำปริ่มๆ และฟองสบู่...

    วันเหล่านั้นดูเหมือนเป็นวันที่สุดแสนจะธรรมดา และเราเองก็แทบจะจำมันไม่ได้เสียแล้ว
    แต่กับคนอีกนับเป็นล้าน ๆ คนในประเทศอย่างเอธิโอเปีย อูกันดา เคนย่า ฯลฯ ไม่มีแม้แต่ "น้ำ" ที่สะอาดพอจะดื่มได้ และผลก็คือ การเกิดโรคระบาดอย่างรุนแรง และประชากรล้มตายกันมากมาย

    ฉะนั้นจึงมีคนคิดหาทางแก้ปัญหาด้วย "หลอดกรองน้ำแบบพกพา" ที่ถือเป็นหนึ่งในสุดยอดนวัตกรรมเปลี่ยนโลกแห่งศตวรรษที่ 21 เลยทีเดียว


    ลองนึกถึงภาพแมลงวันบินมาเกาะที่ตาของพวกเขาเหล่านั้นสิคะ...สลดใจจัง
    [​IMG]

    ฉะนั้นจึงมีแนวคิดสร้างผลิตภัณฑ์เล็กๆ ที่จะเป็นชีวิตคนยากไร้นับล้านๆ คนได้ และ นี่คือ "หลอดกรองน้ำขนาดพกพา (LifeStraw)"ที่ถือเป็นหนึ่งในสุดยอด "ผลิตภัณฑ์เปลี่ยนโลก" ที่ได้รับการยกย่องจากนิตยสารฟอร์บ และเวทีอื่นๆ อีกมากมาย

    [​IMG]

    นวัตกรรมนี้ได้รับการศึกษาและวิจัยโดยมหาวิทยาลัยนอร์ธ คาโรไลน่า แห่งสหรัฐอเมริกา ที่ถือเป็นกรองน้ำโลว์คอร์สแบบพกพา สามารถใช้ดูดและกรอกน้ำได้ทันทีจากแหล่งน้ำต่างๆ
    คุณสมบัติของหลอดกรองน้ำขนาดพกพานี้คือ สามารถใช้งานกรอกน้ำได้ 700 ลิตรในหนึ่งปี และเก็บได้นาน 3 ปี สามารถสกัดกั้นเชื้อแบคทีเรียและไวรัสนานาสายพันธุ์ก่อให้เกิดโรคท้องร่วงและโรคทางเดินอาหารอื่นๆ ได้
     
  4. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เมื่อวันอาทิตย์ พาลูกค้าชาวญี่ปุ่นไปหาห้องเช่า

    บริษัทฯเขาทำธุรกิจเกี่ยวกับ ชิบ ไปใช้ในการประกอบแผงวงจรอิเลคโทรนิคส์ ต่างๆ เลยคุยกันถูกคอ เขารู้เรื่องพลังงานทดแทนดีเลย ตัวกำเนิดพลังงานไฟฟ้าแบบวางบนพื้นถนน ที่ติดตั้งไว้บริเวณคนเดินผ่านมากๆ เช่น สถานีรถไฟฟ้า เข้าก็รู้ดี ตัวที่เป็นผลึกควอทแบบของอิสราเอล เขาก็รู้จัก เลยคุยกันแรกเปลี่ยนทัศนคติกันสนุกเลย เราได้เสนอไอเดียไปบ้าง เผื่อมีประโยชน์ให้เขาไปคิดพัฒนาต่อได้นิ

    เห็นเขาบอกว่า ตอนนี้ทางญี่ปุ่นเน้นติดตั้งแผงโซล่าเซลล์บนหลังคาบ้านมากที่สุด เพราะเทคโนโลยีนี้ ราคาเริ่มลดลงมากแล้ว ( แบบอื่นๆ ยังแพงมากเกินไป และรัฐบาลก็ไม่ช่วยสนับสนุน ทั้งๆที่เป็นไอเดียที่ดีมากๆ เขาว่ารัฐบาลญี่ปุ่นไม่ฉลาด หน่วยงานราชการ เข้มงวดเรื่องทำเอกสารมากมาย กว่าจะ อนุมัติได้ เลยไม่ค่อยคืบหน้า บริษัทฯเอกชน เบื่อในการทำเอกสารรายงานที่สุด )

    เลยลองไปหารูปข่าวมาลงให้ดู

    หลังคาโซล่าร์เซลล์

    [​IMG]
    [​IMG]


    ภาพ หลังคาที่ติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ หรือ แผงรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ เพื่อนำพลังงานมาใช้ภายในบ้าน บริเวณเมืองโอตะ ทางตอนเหนือของกรุงโตเกียวประมาณ 80 กิโลเมตร รัฐบาลญี่ปุ่นพยายามรณรงค์ให้ประชาชนติดตั้งแผงโซล่าเซลล์บนหลังคาบ้าน แต่แผงพลังงานแสงอาทิตย์และค่าติดตั้งยังมีราคาแพง
     
  5. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เกษม <script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_2023948", true); </script>
    ผู้สนับสนุน กิตติม�

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2004
    ข้อความ: 4,466
    <if condition=""></if>Groans: 9
    Groaned at 45 Times in 42 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 15,757
    ได้รับอนุโมทนา 63,700 ครั้ง ใน 3,981 โพส
    พลังการให้คะแนน: 3460 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    <!-- message --> <table width="100%" border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="headline" valign="baseline" align="left">"พอลิเมอร์นำไฟฟ้า" ช่วยโลกได้โดยการนำไปผลิตโซลาร์เซลล์ที่ผลิตง่ายและราคาถูก</td></tr></tbody></table><table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="body" valign="baseline" align="left">โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</td><td class="date" valign="baseline" align="left">7 เมษายน 2552 19:12 น.</td></tr></tbody></table>
    [​IMG]
    ศ.ฮิเดกิ ชิรากาวา (Prof.Hideki Shirakawa)

    นักเคมีญี่ปุ่นเจ้าของรางวัลโนเบลจากการค้นพบ "พอลิเมอร์นำไฟฟ้า" เชื่ออีก 2-3 ปี มีทีวีจอบางเฉียบ-ช่วยโลกได้ เพราะกินไฟต่ำสุด และวัสดุเดียวกัน ยังนำไปผลิตโซลาร์เซลล์ที่มีกระบวนการผลิตง่ายและราคาถูก อีกทั้งยังมีทรัพยากรวัตถุดิบเหลือเฟือ

    ศ.ฮิเดกิ ชิรากาวา (Prof.Hideki Shirakawa) นักเคมีชาวญี่ปุ่นผู้ค้นพบพอลิเมอร์นำไฟฟ้า (Conductive Polymer) และได้รับรางวัลโนเบล สาขาเคมี เมืื่อปี 2543 จากการค้นพบดังกล่าว และเกษียณอายุการทำงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยซึคูบะ (University of Tsukuba) ประเทศญี่ปุ่น เผยกับทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTV-ผู้จัดการออนไลน์ และสื่อมวลชนว่าในอีก 2-3 ปี เราจะมีโทรทัศน์ที่บางที่สุด และยังใช้พลังงานต่ำสุด ซึ่งพัฒนาจากพอลิเมอร์นำไฟฟ้า

    แม้ว่าปัจจุบันจะมีโทรทัศน์ที่บางลงเรื่อยๆ แต่โทรทัศน์เหล่านั้น ผลิตจากหลอดแอลอีดี (LED) ซึ่งต้องใช้หลอดไฟแบล็คไลท์ (Black Light) ที่ทำให้สิ้นเปลืองพลังงาน ในขณะที่โทรทัศน์ซึ่งผลิตจากพอลิเมอร์นำไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องใช้หลอดดังกล่าว ทำให้เราพัฒนาโทรทัศน์ที่บางและสิ้นเปลืองพลังงานน้อยที่สุดได้

    ทั้งนี้ ศ.ชิรากาวาได้รับเชิญให้มาบรรยายพิเศษภายในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ฉลองครบรอบ 48 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-9 เม.ย.52 ณ โรงแรมมิลเลเนียมฮิลตัน กรุงเทพฯ ภายใต้หัวข้อ "การพัฒนาแบบยั่งยืนเพื่อรักษาโรค: วิสัยทัศน์ 2050” (Sustainable Development to Save the Earth: Technologies and Strategies Vision 2050)

    [​IMG]
    การผลิตไฟฟ้าไว้ใช้เองด้วยเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาบ้าน

    นักเคมีญี่ปุ่นเจ้าของรางวัลโนเบล ได้ตอบคำถามทีมข่าววิทยาศาสตร์ ถึงการนำพอลิเมอร์ไปใช้เพื่อรักษาโลกว่า จะเห็นได้ชัดเจนขึ้น ในการพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์อีก 2-3 ปีข้างหน้า เนื่องจากเซลล์แสงอาทิตย์ที่พัฒนาจากพอลิเมอร์นำไฟฟ้านั้น มีกระบวนการผลิตที่ง่ายมาก ราคาถูก และยังมีทรัพยากรในโลกอีกเหลือเฟือ ที่จะนำมาผลิตเป็นพอลิเมอร์นำไฟฟ้าได้ โดยวัตถุดิบสำคัญคือพอลิเมอร์จากปิโตรเคมี และแม้ว่าน้ำมันปิโตรเลียมจะหมดไปจากโลกแล้ว นักวิทยาศาสตร์ก็ยังสามารถสกัดพอลิเมอร์ทดแทนจากพืชได้

    “ไม่ว่าอะไรจะหมดไปจากโลก นักวิทยาศาสตร์ก็จะสามารถหาสิ่งอื่นมาทดแทนได้ เพราะเป็นหน้าที่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ต้องคิดค้นหาอะไรใหม่ๆ ส่วนที่ผมมาบรรยายครั้งนี้ ก็คาดหวังว่าจะทำให้คนไทยได้รู้จักพอลิเมอร์นำไฟฟ้า" ศ.ชิรากาวากล่าว​

    พร้อมกันนี้ ศ.ชิรากาวายังได้พูดถึงบทบาทของนักวิทยาศาสตร์ว่า ที่ผ่านมานักวิทยาศาสตร์ลืมที่จะสื่อสารกับโลกภายนอก ซึ่งโลกมีปัญหาอยู่ทุกวันนี้ก็เพราะนักวิทยาศาสตร์ขาดการสื่อสารกับสังคม ว่ากำลังทำอะไรอยู่ ขณะเดียวกันสังคมก็ไม่นำผลงานของนักวิทยาศาสตร์มาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคม​

    ทั้งนี้ เขาอยากให้มีเสียงจากสังคมสะท้อนว่า อยากให้นักวิทยาศาสตร์ทำอะไร แต่สังคมยังขาดการสื่อสารระหว่างนักวิทยาศาสตร์และสังคม โดยสื่อมวลชนเองก็ให้ความสำคัญแต่กีฬาและบันเทิง​

    สำหรับรางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2543 นั้น ศ.ชิรากาวาได้รับร่วมกับนักวิทยาศาสตร์อีก 2 คนคือ ดร.อลัน เจ ฮีเจอร์ (Dr.Alan J. Heeger) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ในซานตาบาร์บารา (University of California, Santa Barbara) สหรัฐอเมริกา และ ดร.อลัน จี แมคไดอาร์มิด (Dr.Alan G MacDiarmid) จากมหาวิทยาลัยเพนน์ซิลวาเนีย (University of Pennsylvania) สหรัฐฯ​

    ระหว่างบรรยาย ศ.ชิรากาวาระบุว่า การค้นพบพอลิเมอร์นำไฟฟ้านี้เป็นความร่วมมือของนักวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขา และมีที่มาต่างกัน โดย ดร.ฮีเจอร์ นั้นเกิดและเติบโตในสหรัฐฯ ขณะที่ ดร.แมคไดอาร์มิด เกิดและเติบโตที่นิวซีแลนด์ ส่วนเขาเองเกิดและเติบโตที่ประเทศญี่ปุ่น​

    ส่วนการค้นพบพอลิเมอร์นำไฟฟ้าของ ศ.ชิรากาวานั้น เขาบอกว่าเป็น "ความผิดพลาดที่นำไปสู่ความสำเร็จ" โดย แรกทีเดียว เขาตั้งใจจะวิเคราะห์โครงสร้างของ "พอลิอะเซทิลีน" (Polyacetylene) ซึ่งเป็นที่สนใจในช่วงนั้น เขากลับผสมสารผิดปริมาณไป จึงได้พอลิเมอร์ที่มี่คุณสมบัตินำไฟฟ้าได้​

    แรกทีเดียวเขารู้สึกตกใจ และไม่คิดว่าผลจะออกมาเป็นเช่นนั้น ปัจจุบันพอลิเมอร์นำไฟฟ้ามีอยู่ในโทรศัพท์มือถือและแบตเตอรีบางชนิด ซึ่งเราไม่สามารถเห็นวัสดุชนิดนี้ได้โดยตรง แต่ก็เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตเราและอนาคตจะยิ่งมากขึ้น​

    ที่มา http://www.manager.co.th/Science/Vie...=9520000039372
    <!-- / message --> <!-- attachments --> <fieldset class="fieldset"> <legend>รูปขนาดเล็ก</legend> [​IMG] [​IMG]
    </fieldset>
     
  6. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ตอนไปงานกสิกรรมธรรมชาติที่มาบเอื้อง ได้ความรุ้เพิ่มเติมมาอีกหลายอย่าง

    -มีพระ ที่ท่านดัดแปลง เอาเครื่อง ยูพีเอส เครื่องสำรองไฟคอมพิวเตอร์มาใช้ส่วนการแปลงไฟฟ้า กระแสตรงกระแสสลับมาใช้แทนตัวอินเวอร์เตอร์ที่มีราคาแพง ร่วมกับ แผงโซล่าร์เซลล์ หรือกังหันลมครับ
    ดูแล้วคุ้มค่าดีครับ

    -ในการเผาถ่านจากเตาอิวาเตะ ถ่านไม้ที่ได้มีคุณสมบัติพิเศษคือ มีประจุลบ อิออนลบซึ่งดีต่อสุขภาพ และที่สำคัญกลายเป็นตัวนำไฟฟ้าแบบออแกนนิคครับ ตรงนี้เขาได้ทดลองให้ดู ซึ่งตรงนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ต่อไปได้อีกมากมายครับ


    เอาง่ายๆแค่เรื่องที่ตอนนี้ทองแดงกำลังจะหมดไปจากโลก เราพัฒนาถ่านมาบดเป็นผง ประสานด้วยโพลิเมอร์ตัวนำไฟฟ้า มารีดเป็นสายไฟฟ้า ก็ประหยัดทรัพยากรโลกได้มหาศาลครับ ใช้พลังงานในการถลุงรีดต่ำกว่าทองแดงมากมายครับ
     
  7. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์รุ่นใหม่ จะถูกติดตั้งตามพื้นถนน ผนังอาคาร และหน้าต่าง

    โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 3 มกราคม 2552

    คุณเคยสงสัยบ้างหรือเปล่าว่าเราจะ สามารถผลิตพลังงานได้มากเท่าไรหากมีการติดตั้งเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ ไว้ตามทางเดิน ถนนหนทาง รางรถไฟ กำแพง หลังคา และหน้าต่าง ในอีก 5 ปีข้างหน้า พลังงานแสงอาทิตย์จะเป็นทางเลือกที่มีราคาไม่แพง

    ปัจจุบันวัสดุและกระบวนการผลิตเซลล์สุริยะหรือโซลาร์เซลล์ซึ่งในการ เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้ามีราคาแพงเกินกว่าที่จะ สามารถนำไปใช้งานอย่างแพร่หลายแต่ตอนนี้หลายๆสิ่งกำลังจะเปลี่ยนไป

    โครงการนวัตกรรมBigGreenของ ไอบีเอ็มกำลังคิดค้นวิธีการทำให้เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาถูกลง สำหรับทั้งบริษัทผู้ผลิต และบริษัทผู้จัดหาพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์

    ปัจจุบันระบบเซลล์สุริยะโดยมากแปลงพลังงานโดยใช้ซิลิกอนซึ่งมี ประสิทธิภาพน้อยกว่าและมีต้นทุนการผลิตสูงกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล ขณะนี้ ไอบีเอ็มกำลังพัฒนา เซลล์สุริยะแบบ “ฟิล์มบาง” (thin-film) ซึ่งเป็นชุดเซลล์สุริยะราคาประหยัดที่ไม่ได้ใช้ซิลิกอนซึ่งมีจำนวนจำกัดและ ราคาแพง เซลล์สุริยะแบบฟิล์มบางนี้มีความบางกว่าเซลล์สุริยะแบบแผ่นซิลิกอนถึง 100 เท่า และมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าอีกด้วย

    ไอ บีเอ็มกำลังทำโปรเจกต์ที่จะช่วยสร้างเซลล์สุริยะแบบฟิล์มบางรุ่นใหม่ ซึ่งสามารถจัดเรียงไว้บนแผงรองรับที่ยืดหยุ่นได้ ทำให้สามารถติดตั้งไว้ตามที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น หลังคา ผนังอาคาร หน้าต่าง โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก รถยนต์ หรือแม้กระทั่งเสื้อผ้าได้อีกด้วย

    เซลล์สุริยะแบบฟิล์มบางนี้จะถูก “พิมพ์” ไว้บนแผงที่ม้วนงอได้ จึงไม่ต้องใช้กระบวนการผลิตเซลล์สุริยะแบบเก่า ซึ่งเป็นกระบวนการที่ต้องใช้พลังงานและสารเคมีจำนวนมาก

    ไอบีเอ็มใช้เลนส์ขนาดใหญ่เพื่อรวมพลังงานจากแสงอาทิตย์ โดยเลียนแบบจากเด็กที่ใช้แว่นขยายเพื่อเผาใบไม้หรือจุดกองไฟ ซึ่งได้ค่าพลังงานเทียบเท่ากับแสงจากดวงอาทิตย์ 2,300 ดวง บนเซลล์สุริยะขนาด 1 ตารางเซนติเมตร นับเป็นพื้นที่เซลล์สุริยะที่เล็กที่สุดเท่าที่เคยมีมา จากนั้น พลังงานดังกล่าวจะถูกแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้า 75 วัตต์ ซึ่งมีค่าประมาณ 5 เท่าของพลังงานที่ได้จากเซลล์สุริยะรุ่นเก่า ที่เรียกว่า Concentrator Photovoltaics หรือ CPV และเป็นเซลล์สุริยะที่มีขนาดเล็กที่สุดในปัจจุบัน

    เทคโนโลยีการรวมพลังงานแสงอาทิตย์คาดว่าจะผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสง อาทิตย์ที่มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดสำหรับโรงผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่ แต่ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ ดังนั้น ไอบีเอ็มจึงคิดหาวิธีระบายความร้อนออกจากเซลล์สุริยะขนาดจิ๋ว เพราะการรวมแสงอาทิตย์ในระดับที่เทียบเท่ากับดวงอาทิตย์ 2,300 ดวง บนพื้นที่ขนาดเล็กย่อมจะก่อให้เกิดความร้อนสูงมากจนสามารถละลายเหล็กกล้าได้ แต่ไอบีเอ็มได้อาศัยนวัตกรรมจากงานวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการระบายความร้อน ออกจากชิปคอมพิวเตอร์เข้าช่วย จึงทำให้สามารถลดอุณหภูมิของเซลล์สุริยะจากกว่า 1,600 องศาเซลเซียส ให้เหลือเพียง 85 องศาเซลเซียสเท่านั้น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 เมษายน 2009
  8. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    What is a Thin-film Solar Cell?

    <!-- dtl_id=499112 //--> If you've used a solar-powered calculator, you've seen a solar cell based on thin-film technology. Clearly, the small cell in a calculator is not big and bulky. Most are about an inch (2.5 cm) long, a quarter-inch (0.6 cm) wide and wafer-thin. The thinness of the cell is the defining characteristic of the technology. Unlike silicon-wafer cells, which have light-absorbing layers that are traditionally 350 microns thick, thin-film solar cells have light-absorbing layers that are just one micron thick. A micron, for reference, is one-millionth of a meter (1/1,000,000 m or 1 µm).

    Thin-film solar cell manufacturers begin building their solar cells by depositing several layers of a light-absorbing material, a semiconductor onto a substrate -- coated glass, metal or plastic. The materials used as semiconductors don't have to be thick because they absorb energy from the sun very efficiently. As a result, thin-film solar cells are lightweight, durable and easy to use.

    There are three main types of thin-film solar cells, depending on the type of semiconductor used: amorphous silicon (a-Si), cadmium telluride (CdTe) and copper indium gallium deselenide (CIGS). Amorphous silicon is basically a trimmed-down version of the traditional silicon-wafer cell. As such, a-Si is well understood and is commonly used in solar-powered electronics. It does, however, have some drawbacks.
    <center>
    [​IMG]
    © 2008 HowStuffWorks
    A copper indium gallium deselenide solar cell using glass­​
    </center>
    One of the biggest problems with a-Si solar cells is the material used for its semiconductor. Silicon is not always easy to find on the market, where demand often exceeds supply. But the a-Si cells themselves are not particularly efficient. They suffer significant degradation in power output when they're exposed to the sun. Thinner a-Si cells overcome this problem, but thinner layers also absorb sunlight less efficiently. Taken together, these qualities make a-Si cells great for smaller-scale applications, such as calculators, but less than ideal for larger-scale applications, such as solar-powered buildings.
    Promising advances in non-silicon thin-film PV technologies are beginning to overcome the issues associated with amorphous silicon. On the next page, we'll take a look at CdTe and CIGS thin-film solar cells to see how they compare.

    อ่านเพิ่มเอาเองนะครับตาม article นี้

    How Thin-film Solar Cells Work by William Harris
     
  9. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    หน้าตาคล้ายๆแบบนี้





    [​IMG]
    Konarka has successfully developed a range of organic thin-film solar cell modules which are flexible enough to be attached to a bag and used as a power source of an electronic paper. These solar panel modules are exhibited at the 2nd International Photovoltaic Power Generation Expo (PV EXPO 2009). The energy conversion efficiency of these super thin solar cells stand at 4% currently within a building. Translucent solar cells are also available from Konarka, and having these on our ceilings and windows will definitely revolutionize the power industry.

    หรือไม่ก็แบบนี้

    <DL class=gallery-item><DT class=gallery-icon> [​IMG] </DT></DL>[​IMG]<DL class=gallery-item><DT class=gallery-icon>

    <DD class=gallery-caption> Organic Thin-Film Solar Cell Leaves! </DD></DL><DL class=gallery-item><DT class=gallery-icon>

    </DT></DL>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 เมษายน 2009
  10. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    หรือว่าแบบนี้ก็ดีนิ

    เขาบอกว่า บอลลูนโซล่าเซล สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น 400 เท่า ( อะไรทำนองนี้ ถ้าผิดพลาดก็ขออภัยด้วย พอดีภาษาประกิตไม่แข็งแรงมากครับ )


    อยากรู้จริงๆ ให้ไปค้นคว้าต่อกันเองนะครับ






    [​IMG]
    An image is worth a thousand words. As you may see in the picture above, this balloon, made by Cool Earth, is concentrating the solar power to a focal point, where a photovoltaic solar cell is harnessing the light.<!--more-->
    <SCRIPT type=text/javascript><!-- google_ad_client = "pub-6363402612711676"; /* 200x90, created 2/23/08 */ google_ad_slot = "6092709645"; google_ad_width = 200; google_ad_height = 90; //--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT><INS style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 0pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 0pt; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0pt; MARGIN: 0pt; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 200px; PADDING-TOP: 0pt; BORDER-BOTTOM: medium none; POSITION: relative; HEIGHT: 90px"><INS style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 0pt; BORDER-TOP: medium none; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0pt; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0pt; MARGIN: 0pt; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 200px; PADDING-TOP: 0pt; BORDER-BOTTOM: medium none; POSITION: relative; HEIGHT: 90px"><IFRAME id=google_ads_frame2 style="LEFT: 0pt; POSITION: absolute; TOP: 0pt" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-6363402612711676&dt=1239208810156&lmt=1239208783&prev_slotnames=3714108641&output=html&slotname=6092709645&correlator=1239208810093&url=http%3A%2F%2Fwww.greenoptimistic.com%2F2008%2F12%2F02%2Fcool-earth-solar-balloon%2F&ref=http%3A%2F%2Fimages.google.co.th%2Fimgres%3Fimgurl%3Dhttp%3A%2F%2Fwww.greenoptimistic.com%2Fwp-content%2Fuploads%2F2008%2F12%2Fcool-earth-solar-balloon.jpg%26imgrefurl%3Dhttp%3A%2F%2Fwww.greenoptimistic.com%2F2008%2F12%2F02%2Fcool-earth-solar-balloon%2F%26usg%3D__zifvVZvap4GVRxMNvYq38sQgfO0%3D%26h%3D383%26w%3D468%26sz%3D47%26hl%3Dth%26start%3D64%26um%3D1%26tbnid%3DzO8E5YroBIpHaM%3A%26tbnh%3D105%26tbnw%3D128%26prev%3D%2Fimages%253Fq%253Dfilm%252Bsolarcell%2526ndsp%253D20%2526hl%253Dth%2526sa%253DN%2526start%253D60%2526um%253D1&frm=0&ga_vid=2970500638679323000.1239208803&ga_sid=1239208803&ga_hid=108073606&ga_fc=true&flash=0&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&u_tz=420&u_his=40&u_java=true&u_nplug=8&u_nmime=21&dtd=15&w=200&h=90&xpc=qhfFQlBiUr&p=http%3A//www.greenoptimistic.com" frameBorder=0 width=200 scrolling=no height=90 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    The solar balloon produces 400 times the electricity that a normal, ground solar cell would produce without the concentrator. Cool Earth is already constructing a balloon-based power plant in Livermore, CA. When finished, the power plant will generate 1.4 MW, with plans to increase the power furthermore.
    “Plastic thin film is abundant and cheap,” said Cool Earth Solar CEO Rob Lamkin. “It only costs two dollars for the plastic material necessary for our solar concentrator.”
    With inventions like MIT’s recent high efficiency thin film solar cell, the solar balloon may go even further with the solar energy harnessing.
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT><IFRAME name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=undefined&dt=1239291323593&format=undefinedxundefined&output=html&correlator=1239291323593&ea=0&frm=1&ga_vid=1910814576.1218638923&ga_sid=1239291177&ga_hid=2145651132&ga_fc=true&flash=10.0.12.36&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&u_tz=420&u_his=8&u_java=true&dtd=32" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME>
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT><IFRAME name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=undefined&dt=1239291348156&format=undefinedxundefined&output=html&correlator=1239291348156&ea=0&frm=1&ga_vid=1910814576.1218638923&ga_sid=1239291177&ga_hid=1807480885&ga_fc=true&flash=10.0.12.36&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&u_tz=420&u_his=8&u_java=true&dtd=31" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 เมษายน 2009
  11. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เทคโนโลยี แผ่นโซล่าเซลบางๆนี้ กำลังจะเปลี่ยนโลกแห่งพลังงานสะอาดไปอีกไกลโข อย่างนึกไม่ถึงกันเลยทีเดียว ตัวอย่างเช่น ใช้เป็นแผ่นชาร์จไฟแบตเตอรี่ หรือ พกไปแค้มปิ้งด้วย แบบว่าม้วนๆไปพร้อมกับเต้นท์ เมื่อกางออกมา ก็เอาแผงโซล่าเซลออกมาปูเสื่อผลิตไฟฟ้าจากแสง บนสนามหญ้าได้ทันที แจ๋วไปเลย


    Paper-Thin Plastic Film Soaks Up Sun to Create Solar Energy
    Environmental and Agricultural Resources

    Originating Technology/NASA Contribution

    A solar cell is a semiconductor device that converts photons, or light, into electricity. The most widely used solar cells today are made from wafers of mono- or poly-crystalline silicon.

    <TABLE borderColor=#ffffff height=271 cellSpacing=5 cellPadding=0 width=270 align=right border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top width=340 height=203>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=53>
    Thin film solar cells derived from amorphous silicon, pictured here, are gaining more and more attention in a market otherwise dominated by mono- and poly-crystalline silicon solar cells. ​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>Mono-crystalline silicon, or single-crystal silicon, is produced by growing a large pure crystal of silicon in a furnace. The pure crystal is then sawed into wafers and assembled in an array. The resulting silicon is highly efficient, but expensive and time-consuming to mass-produce. Further, because the silicon has to be cut prior to assembly, approximately 50 percent of material goes unused, and is therefore wasted.

    Poly-crystalline silicon, or multi-crystal silicon, is created by casting molten silicon in blocks. While this process is a little less expensive and faster than the process used for growing a single crystal, the resulting multi-crystal silicon is less efficient than its single-crystal counterpart.

    Although less commonly used, a third type of solar cell, called a thin film solar cell, can counterbalance many of the disadvantages associated with mono- and poly-crystalline silicon manufacturing by using only a fraction of pure silicon. Thin film solar cells are made by depositing a very thin layer of silicon (or another semiconductor substance, depending upon the application) on a very thin supporting material, such as glass, plastic, or metal foil. This process is known as chemical vapor deposition.

    A non-crystallized silicon known as amorphous silicon is the semiconductor material most frequently chosen for deposition, because it is a strong absorber of light. According to the U.S. Department of Energy, amorphous silicon absorbs solar radiation 40 times more efficiently than single-crystal silicon, and a thin film only about 1-micrometer (one one-millionth of a meter) thick containing amorphous silicon can absorb 90 percent of the usable light energy shining on it. Peak efficiency and significant reduction in the use of semiconductor and thin film materials translate directly into time and money savings for manufacturers.

    <TABLE borderColor=#ffffff height=238 cellSpacing=5 cellPadding=0 width=270 align=right border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top width=340 height=163>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=53>
    PowerFilm Solar manufactures thin, flexible solar panels by way of a proprietary, low-cost, “roll-to-roll” process. The rollable solar panels are monolithically integrated, which eliminates the need for damage-prone manual connections of individual solar cells. ​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>Thanks in part to NASA, thin film solar cells derived from amorphous silicon are gaining more and more attention in a market that has otherwise been dominated by mono- and poly-crystalline silicon cells for years. At Glenn Research Center, the Photovoltaic & Space Environments Branch conducts research focused on developing this type of thin film solar cell for space applications. Placing solar cells on thin film materials provides NASA with an attractively priced solution to fabricating other types of solar cells, given that thin film solar cells require significantly less semiconductor material to generate power. Using the super-lightweight solar materials also affords NASA the opportunity to cut down on payload weight during vehicle launches, as well as the weight of spacecraft being sent into orbit.

    Iowa Thin Film Technologies, Inc., of Boone, Iowa, worked closely with the Photovoltaic & Space Environments Branch so that both parties could broaden their understanding of thin film solar cells made from amorphous silicon. The commercial payoff of this alliance has now been realized, with terrestrial trickle-downs coming in the forms of solar-powered headset radios for recreational use and battery chargers and solar tents for military operations.

    Partnership

    <TABLE borderColor=#ffffff height=238 cellSpacing=5 cellPadding=0 width=270 align=right border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top width=340 height=163>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=53>
    The Soltronix HR-1 solar-rechargeable AM/FM Headphone Radio eliminates the cost and inconvenience of replacing batteries. The portable and powerful system automatically recharges itself when in sunlight, even while listening.​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>In November 1989, Glenn awarded Iowa Thin Film Technologies with a $50,000 Phase I Small Business Innovation Research (SBIR) contract to research the potential for a lightweight and flexible thin film solar cell that uses amorphous silicon as a semiconductor source, for air and space applications. With this initial-phase funding, Iowa Thin Film Technologies demonstrated that development of the solar technology was viable and, thus, was awarded a $500,000 Phase II contract to move ahead with the manufacturing process, which then occurred over the course of 2 years. Funding from Glenn supported the research and development programs of Iowa Thin Film Technologies in the early years of the company and helped improve the company’s process for depositing solar cells on rolls of thin, flexible plastic substrate.

    Iowa Thin Film Technologies also received funding for this project from several other government agencies, as well as from private resources. The private investments provided the financing necessary for the company to build a complete production facility. In addition to expanding its workspace, the company expanded its workforce, growing from just a few employees to 12 full-time and 8 part-time employees.

    Because of the NASA SBIR support that led to new technology and helped create new jobs, the company today shines as a leading producer of thin film photovoltaics.

    Product Outcome

    PowerFilm Solar, the solar division of PowerFilm, Inc. (the company previously known as Iowa Thin Film Technologies), manufactures and markets a differentiated line of next-generation, amorphous silicon, thin film solar panels that can easily and economically be integrated with consumer and military products. The amount of amorphous silicon used in the panels is as low as 1 percent of the amount used in traditional crystalline silicon solar panels, according to PowerFilm Solar.

    <TABLE borderColor=#ffffff height=254 cellSpacing=5 cellPadding=0 width=242 align=right border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top width=232 height=167>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=51>
    The PowerFilm AA Foldable Solar Charger provides portable power for charging AA rechargeable batteries. The charger automatically begins charging once unfolded, and a light informs the user when the batteries are fully charged.​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>These thin film solar panels, branded as PowerFilm solar panels, are constructed using a process called monolithic integration, which is the automatic, built-in connection of individual solar cells. According to the company, monolithic integration improves durability and reduces cost by eliminating the need for expensive and failure-prone manual collection of individual solar cells. It further noted that it is the first and only company in the world to manufacture and sell monolithically integrated semiconductors on a flexible polymer substrate. During the manufacturing process, PowerFilm Solar uses its proprietary “roll-to-roll” manufacturing technology platform. (Roll-to-roll processing is the action of creating electronic devices on a roll of flexible plastic or metal foil.)

    “Imagine taking paper-thin plastic film and making it generate power again and again. That’s what PowerFilm is and does,” claimed Michael Coon, the company’s chief operating officer. “This is not your father’s solar technology from the ’70s. PowerFilm’s durable plastic base is superior to fragile glass or corrosive metal,” he added.

    Available in a variety of standard and custom configurations to meet specific voltage, current, and environmental needs, the rollable PowerFilm products boast a durable and aesthetically pleasing design, and are quickly adaptable within their intended market, be it commercial or military. Moreover, they are not hazardous to human health, since amorphous silicon is completely free of cadmium (a naturally occuring metallic element known to produce toxic effects in humans), unlike many other solar technologies.

    <TABLE borderColor=#ffffff height=269 cellSpacing=5 cellPadding=0 width=242 align=right border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top width=232 height=167>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=49>
    The PowerFilm 60-Watt Foldable Solar Charger, the largest in PowerFilm, Inc.’s line of foldable solar chargers, is very lightweight (2.6 pounds), considering the amount of power it produces (3.6 amps at 15.4 volts).​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>Across the board, PowerFilm Solar’s PowerFilm commercial products are experiencing very strong sales. One of the company’s first offerings sprung from its research partnership with NASA was the HR-1 Soltronix Solar Rechargeable AM/FM Headphone Radio. Featuring a breakthrough combination of PowerFilm solar technology and premium sound, the HR-1 headphone radio automatically recharges itself when in sunlight, even while the user is listening to it. (One hour of charging in full sunlight provides 1 to 3 hours of listening.) It will even recharge under interior house lighting or on cloudy or rainy days, albeit at much slower rates. When fully charged, the headphone set will play for more than 20 hours, even in the dark.

    Other features include an internal antenna for powerful reception, a dual headband for added comfort, all-weather durability (Some users have remarked on the usefulness of the headset while walking/jogging in the rain or while boating.), and an extended bass range for setting graphic equalization to a listener’s liking.

    The sophisticated solar cells also serve as precision chargers for AA batteries. In 2005, PowerFilm Solar launched the PowerFilm Foldable Solar Charger that can recharge up to four AA batteries at a time, to optimum level, without inducing damage associated with overcharging. “Unlike other solar chargers for AA batteries, this new charging circuit does not get confused from variations in current typically seen from a solar panel,” noted Frank Jeffrey, PowerFilm’s chairman.

    <TABLE borderColor=#ffffff height=268 cellSpacing=5 cellPadding=0 width=242 align=right border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top width=232 height=167>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=48>
    The flexible, thin film solar cell can be a source of power for laptops, MP3 players, portable televisions, and other items that might be used during outdoor recreational activities. ​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>The technology, comprised of a rugged fabric that houses the lightweight, flexible solar panels, is being marketed in partnership with Johnson Outdoors, Inc., a recreational product manufacturer. In addition to this commercial version, PowerFilm Solar has introduced a military version that is ideal for soldiers in the field, especially in remote locations.

    Also in 2005, PowerFilm Solar teamed up with the U.S. Army to supply PowerFilm-equipped tents. The largest tent ordered by the Army is a canopy that can provide up to 2 kilowatts of power. “This is enough energy to power up to 66 laptop computers or 260 cell or satellite phones [when the sun is shining],” said Steve Martens, the president of PowerFilm. “A second, smaller model can produce enough power for 5 laptop computers or 24 cell or satellite phones,” he added. The power generated by each tent is stored in a bank of batteries.

    The solar tents help meet the Army’s growing demand for rapid-response rates and portable, remote power, and eliminate the need for noisy generators, spare batteries, and excessive fuel storage.

    PowerFilm® and Soltronix HR-1® are registered trademarks of PowerFilm, Inc.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 เมษายน 2009
  12. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    แบบนี้ก็ดีนะ เอาไปปูบนหลังคาบ้าน ที่บ้านหลังคารั่ว ซื้อไปปูบนหลังคา กันฝนตกหลังคารั่วได้ด้วย พอแดดออกก็ผลิตไปได้อีก แหม 2 เด้ง 3 เด้ง

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td>Uni-Solar's SHR-17
    Solar Shingles

    </td> </tr> <tr> <td>[​IMG]The flexible thin-film solar cell shingle blends into a roofing pattern of traditional asphalt shingles. The surface is textured to blend and complement the granular surface of the surrounding conventional shingles. Two, 12” long, 18-gauge lead wires exit from the underside of each shingle. Lead wires on backside of the head-lap pass through the roof deck to allow wiring connections to be made in the roof space.




    </td></tr><tr><td valign="top">
    </td></tr></tbody></table>
     
  13. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    พี่ไทยเราก็มี แต่เวลาชาร์จไฟต้องโป๊หน่อย ใครหุ่นไม่ดีพออาจจะชาร์จไฟได้น้อยกว่าเพื่อนหุ่นดี ชอบโชว์ นิ


    [​IMG]

    ยกทรงพลังงานแสงอาทิตย์


    ตอนนี้เค้ารณรงค์กันสุดฤทธิ์ให้ช่วยกันประหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีสารพัดวิธีที่จะช่วยกันรักษ์โลก แต่ใครจะรู้ว่าแค่ใส่ชั้นในของผู้หญิงก็มีส่วนช่วยลดโลกร้อนได้แล้ว...!!!

    ใช่แล้ว! คุณอ่านไม่ผิดหรอก เพราะตอนนี้บริษัท Triump ที่ประเทศญี่ปุ่นเค้าเพิ่งคิดผลิตเก็ทเจ๊ทไอเดียหลุดโลกออกมา มีชื่อกิ๊บเก๋ว่า “ยกทรงพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Power Bra” เป็นชุดชั้นในสตรีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

    ยกทรงไฮเทคนี้มีสีเขียวของต้นไม้ตรงตามคอนเซ็ปเค้าล่ะ โดยที่ด้านล่างของชุดชั้นในนี้จะมีแผง Solar Cell คาดอยู่บริเวณเหนือเอว และพลังงานที่ได้จากแผงโซล่านี้ สามารถชาร์ตโทรศัพท์หรือไอพอตได้อย่างสบายๆ เป็นการใช้ประโยชน์จากแสงแดด ช่วยประหยัดไฟที่บ้านอีกด้วยนะ

    น่าเสียดายที่เก็ทเจ๊ทตัวนี้ก็ยังไม่สมบูรณ์เท่าไหร่นัก เพราะมันนำไปซักไม่ได้ ซ้ำยังใส่ในวันที่ฝนตกไม่ได้อีกตะหาก อีกอย่างถ้ามีสาวคนไหนกล้าเดินถอดเสื้อแล้วใส่เจ้ายกทรงนี้ออกไปข้างนอกคงต้องมอบรางวัลเทพีอนุรักษ์โลกดีเด่นไปครองได้เลย




    [​IMG]

    [​IMG]
     
  14. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    ใจเย็นๆครับ ราคาSolar cell ลงมาเรื่อยๆแล้ว
    ใกล้ความจริงไปทีละนิดๆ
    ตอนนี้ราคาซื้อ Lotใหญ่ ประมาณ 92 บาทต่อ 1 Watt
    1Watt ประหยัดได้ 0.4 สตางค์ต่อชั่วโมง
    92บาท=9,200สตางค์ หารด้วย 0.4 สตางค์=23,000 ชั่วโมง
    แสงแดดจ้าวันละ 5 ชั่วโมงก็คือ 23,000 หารด้วย 5=4,600 วัน
    หรือราว 12 ปีครึ่ง คืนทุนครับ
    ถ้าราคาเหลือต่ำกว่า40 บาทต่อ 1Watt ผมว่ามีคนลงทุน
     
  15. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ที่ประเทศเยอรมัน ได้ลงมือทดลองสร้างแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าจาก thin film solar cell แล้วในพื้นที่เขตทหาร และผลลัพท์ออกมาเป็นที่น่าพอใจ

    เขาว่าสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากถึง 5.7 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ต่อปี หรือ สามารถจ่ายไฟให้บ้านเรือนมากถึง 1,900 หลังคาเรือน

    ในปัจจุบันกำลังนำระบบนี้ไปสร้างแบบจริงจัง โดยจะมีขนาดใหญ่กว่าเดิมถึง 6-7 เท่าตัว คาดว่าจะสร้างเสร็จในปลายปีนี้ครับ

    World's Largest Thin-Film Solar Power Plant Opens

    by Justin Thomas, Virginia

    Science & Technology (alternative energy)

    <!-- google_ad_section_start -->[​IMG]
    The largest thin-film solar power plant in the world has opened in Germany, dubbed the “Rote Jahne”. It was built by the contractor Juwi Solar, and it will have a total output capacity of six megawatts. It uses 90,000 solar modules to capture quite a bit of sunlight. Thin-film solar modules are cheaper than crystalline modules and produce more energy per unit of installed capacity. The thin-film cells were made by First Solar. The solar plant is built on a former military airfield, and its module surface area comprises approximately 16.5 acres.

    [​IMG]
    The array will produce around 5.7 million kilowatt-hours of solar electricity every year, enough to power some 1,900 homes.
    Juwi Solar has already started building an even larger 40-megawatt solar park, which will be comprised of 550,000 thin-film modules. That project is due to be finished by the end of 2009.
     
  16. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ลองไปดูวิธีการติดตั้ง Thin Film Solar Cell - ง่าย มั่ก ๆ ครับ

    [​IMG]

    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=BKsOpDSRl50"]YouTube - Thin Film Solar Flat Roof - 5 kW in 2.5 hours.[/ame]
     
  17. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ลองดูไอเดียของการสร้าง Sloar Island - แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดมหึมา กลางมหาสมุทร และทะเลทราย



    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class="contentheading sIFR-replaced" width="100%"><OBJECT class=sIFR-flash height=42 width=441 classid=clsid:D27CDB6E-AE6D-11cf-96B8-444553540000 sifr="true">
























    </OBJECT>A Floating Solar Island for the UAE </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"> E-mail </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width="70%" colSpan=2>Written by Hank Green </TD></TR><TR><TD class=createdate vAlign=top colSpan=2>Wednesday, 19 September 2007 </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [​IMG]
    Here in America we've got several vast deserts that are perfect for installing gigantic solar thermal power plants. But not every country has so much free space. At the end of the day, most of the sun's light hits the oceans, because most of the Earth is ocean, but the United Arab Emirates has just contracted with a Swiss firm, CSEM, to purchase a floating solar island.

    <SCRIPT type=text/javascript>digg_url = 'http://digg.com/environment/A_Floating_Solar_Island_for_the_UAE';</SCRIPT><SCRIPT src="http://digg.com/tools/diggthis.js" type=text/javascript></SCRIPT><IFRAME src="http://digg.com/tools/diggthis.php?u=http%3A//digg.com/environment/A_Floating_Solar_Island_for_the_UAE&t=A%20Floating%20Solar%20Island%20for%20the%20UAE%20%7C%20EcoGeek%20-%20Clean%20Technology" frameBorder=0 width=52 scrolling=no height=80></IFRAME>The island, which will basically float on a ring-shaped raft, was conceptualized a while ago by CSEM, but until now they haven't found any buyers. The prototype being comissioned by the UAE will first be tested in a nearby desert before the concept is moved onto the ocean.

    It's one-tenth the size of the concept pictured above, only costing $5M and about 100 meters wide with a peak power generation of roughly 1 megawatt. The plant will produce energy by concentrating solar power onto pipes containing water. The water will boil, and be used to spin turbines. Once shipped off-shore, the islands could be used to convert seawater to hydrogen, allowing them to be autonomous and untethered to the shore. They hydrogen could be picked up by barges, instead of having to transport the electricity to shore via a physical connection.

    This pilot project is being designed mostly to test the feasibility of the solar islands; CSEM says that the islands so far look like they will be cost-effective as long as they are deployed in areas with more than 350 days of sunlight that are near the equator. That's a lot of sunlight, but the area of the coast of the UAE fits the bill. Of course, it's also necessary for the structures to be able to survive a serious storm either by motoring to shore to avoid it, or being resilient enough to live through it.

    In any case, I'm pretty excited about the prospects of harnessing the seemingly limitless bounty of the sun hitting the ocean's surface.
    </TD></TR></TBODY></TABLE></P>[ame="http://www.youtube.com/watch?v=D1XyR3YOVZQ&feature=related"]YouTube - Solar Islands (TM)[/ame]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 เมษายน 2009
  18. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อาคารเก่าๆ ก็ติด thin film solar cell ได้นะคร้าบ .... เก๋ ดีออก ลดโลกร้อนด้วยนะ

    [​IMG]
     
  19. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    New Idea - again



    ถ่านไฟฉายชาร์จได้ด้วยพลังงานลม

    [​IMG]

    3 ดีไซน์เนอร์ชาวเกาหลี ได้แก่ Ji-yun Kim, Soon-young Yang และ Hwan-ju Jeon มีไอเดียเด็ด ๆ มาโชว์พวกเราอีกแล้วค่ะ นี่คือ "เครื่องชาร์จถ่านไฟฉายด้วยพลังงานลม" โดยใช้ชื่อว่า Febot

    อยากรู้ว่ามันทำงานอย่างไร คลิกชมได้เลยค่ะ



    [​IMG]

    Febot มีดีไซน์เหมือนจรวดสีขาว พร้อมใบพัด เพียงติดไว้ที่กระจกนอกอาคาร ทุกครั้งที่มีลมแรงๆ ใบพัดก็จะหมุน เมื่อพลังงานจลน์เกิดขึ้น ก็จะช่วยชาร์จไฟให้กับถ่ายไฟฉายขนาด 2เอ ได้โดยไม่ต้องเสียค่าไฟแต่อย่างใด

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  20. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807


    Free Energy - เข้าท่าดี ไปอีกแบบ



    nPower PEG แค่เดินไปมาก็ชาร์จแบตได้



    [​IMG]


    ลองเปิดกระเป๋าสะพายของตัวเองดูก็จะพบว่ามีสารพัดอุปกรณ์ไฮเทคที่จะต้องพึ่งพาแบตเตอรี่ในการให้พลังงาน ฉะนั้น ถ้าตัวเราเองเป็นผู้สร้างพลังงาน และชาร์จกลับไปยังแบตเตอรี่ของอุปกรณ์ไฮเทคเหล่านี้ แบบฟรีๆ มันจะดีเลิศ และเข้าตาผู้พิทักษ์สิ่งแวดล้อมได้มากแค่ไหน?

    nPower PEG (Personal Energy Generator) คือ นวัตกรรมใหม่ที่ให้ผู้คนเป็นผู้สร้างสรรค์พลังงานสะอาดจากพลังงานจลน์ที่ได้จากการเดินไปไหนมาไหน เพียงคุณห้อยอุปกรณ์นี้ไว้ที่กระเป๋า หรือ พกติดตัวไป ทุกครั้งที่เดิน ก็จะมีการเคลื่อนไหวที่ตัวอุปกรณ์ ซึ่งสร้างให้เกิดพลังงานจลน์ขึ้น และจะแปรพลังงานนี้ให้เป็นกระแสไฟฟ้า เก็บกักไว้ในเครื่อง เมื่อคุณนำสายเคเบิลมาต่อเจ้า nPower PEG เข้ากับมือถือ ก็จะส่งไฟฟ้าต่อมายังแบตเตอรี่ของมือถือ หรือ อีกสารพัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่คุณใช้อยู่ได้

    สินค้านี้ไม่ได้เป็นเพียงแนวคิดการออกแบบอีกต่อ แต่มีการผลิตขึ้นมาขายจริงๆ ซึ่งสามารถสร้างพลังงานได้ถึง 4 วัตต์ และตัวอุปกรณ์เองก็ทำจากวัสดุรีไซเคิลด้วย
     

แชร์หน้านี้

Loading...