เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ใช่ ก็ประมาณถ้ามี x-ray เยอะๆ เช่น class M หรือ X ใต้ก็เตรียมตัวได้เลย น้ำอาจท่วมแน่ ต้องคอยติดตามเหตุการณ์ไปเรื่อยๆ จ้า
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Epam_p_24h.gif
      Epam_p_24h.gif
      ขนาดไฟล์:
      13.1 KB
      เปิดดู:
      793
    • Epam_e_3d.gif
      Epam_e_3d.gif
      ขนาดไฟล์:
      7.1 KB
      เปิดดู:
      791
  3. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    ลมสุริะลดความเร็วเหลือ 320 กม/วินาที สภาพอวกาศรอบโลกสงบเงียบ

    Planetary K-Index.

    [​IMG]

    X-Ray Flux

    [​IMG]

    Proton Flux


    [​IMG]

    Data is valid for December 23, 2012

    [​IMG]
    [​IMG]

    จากรูปกลุ่มจุดดับด้านฝั่งตะวันออกจะเห็นจุดดับเกิดใหม่อีก3จุด และ กลุ่มจุดดับด้านฝั่งตะวันตก ก็จะเห็นจุดดับเกิดใหม่อีก1จุดเช่นเดียวกัน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ธันวาคม 2012
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Coronal Holes: 23 Dec 12

    [​IMG]

    Solar wind flowing from this coronal hole should reach Earth on or about Dec. 27th. Credit: SDO/AIA.

    ลมสุริยะจะพัดมาจาก Coronal Hole นี้ จะมาถึงโลกวันที่ 27 ธันวาคม
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    CHANCE OF STORMS: NOAA forecasters estimate a 10% to 20% chance of polar geomagnetic storms on Dec. 24th in response to a CIR or "corotating interaction region." A CIR is a boundary between fast- and slow-moving streams in the solar wind. Crossing a CIR, as Earth will do on Christmas Eve, can spark magnetic storms and auroras.

    วันที่ 24 ธันวาคม โอกาสที่จะมีพายุแม่เหล็กโลกแปรปรวน 10% - 20%

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  6. FALCON1

    FALCON1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    3,522
    ค่าพลัง:
    +4,863
    ขอบคุณครับสำหรับข้อมูล
    C5-WarRoom Falkman
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    FARSIDE ERUPTION: No strong flares have issued from the sun in weeks, but solar activity might not be as low as it seems. The farside of the sun is increasingly restless. On Dec. 21st, multiple CMEs flew over the edge of the solar disk, and today NASA's STEREO-A spacecraft observed a filament erupting on the farside. The blast site is circled in this extreme ultraviolet image taken on Dec. 23rd at 11:15 UT:

    การระเบิดของดวงอาทิตย์ด้านตรงข้ามกับโลก เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2012 - ไม่มีการปะทุลูกใหญ่ๆ อย่างที่รายงานไว้ แต่ปฏิกิริยาของดวงอาทิตย์ไม่ได้เป็นเหมือนอย่างที่ควรจะเป็นเลย ด้านที่ตรงกันข้ามกับโลกเพิ่มความระอุเรื่อยๆ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม ได้มี CME ระเบิดออกมาจากขอบดวงอาทิตย์ ดาวเทียม STEREO-A ได้สังเกตเห็น filament ปะทุออกมาจากด้านตรงกันข้ามของโลก และทำให้เกิด รังสี ultraviolet อย่างแรง และรูปข้างล่างถ่ายได้เมื่อ 11.15 UTC ของวันที่ 23 ธันวาคม (18.15น)

    [​IMG]

    This activity suggests that the long-term forecast could be stormy. In one to two weeks, active regions currently on the farside will turn toward Earth, possibly sending some flares and CMEs our way.

    ปฏิกิริยาครั้งนี้ ทำให้การพยากรณ์ระยะยาวคาดว่าจะมีพายุสุริยะ ใน 1-2 สัปดาห์นี้ กลุ่มจุดดับที่กำลังร้อนแรงด้านตรงกันข้ามกับโลก จะหันมาทางโลกแล้ว และเป็นไปได้ที่จะส่ง flare และ CME มายังพวกเรา



    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เห็นโลกเราขากดาวเทียม HI1, HI2

    SOLAR SPACE TELESCOPE SEES EARTH: NASA's STEREO-B spacecraft can now see our home planet in its HI1 telescope. HI stands for "Heliospheric Imager." The telescope is designed to track gusts of solar wind and solar storms all the way from the sun to Earth. This image, captured on Dec. 17th, shows Earth and the edge of the sun's corona in a single snapshot:

    [​IMG]

    Earth is moving into the Heliospheric Imager's field of view because the twin STEREO probes are moving around the farside of the sun, which gives them a better view of the sun-Earth system: diagram. Soon Earth will be visible in STEREO-A's HI1 telescope and eventually in the coronagraphs as well.

    The STEREO probes have two wider-field heliospheric imagers, too: HI2-A and HI2-B. Earth has been visible in the HI2 telescopes since launch in 2007, but this is the first time our planet has been visible in either of the HI1 telescopes, which can see regions of space closer to the sun. This development will give researchers a better view of solar storms engulfing Earth and could lead to improvements in space weather forecasting.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    คืนวันคริสมาสต์ มาดูดาวเคียงเดือนกัน (ดาวพฤหัส+ดวงจันทร์)

    Christmas Sky Show

    Dec. 21, 2012: Just when you thought Christmas was over: At the end of the day on Dec. 25th, a pair of holiday lights will pop out of the deepening twilight. Jupiter and the Moon are having a Christmas conjunction.

    It’s a beautiful apparition, visible all around the globe. Even city dwellers, who often miss astronomical events because of light pollution, can see the show. Separated by less than 2 degrees, the bright pair will beam right through urban lights.

    [​IMG]

    For anyone who gets a telescope for Christmas, the timing is perfect. Jupiter and the Moon are among the most satisfying targets for backyard optics. A quick sweep of the telescope from Jupiter to the Moon and back again will reveal Jupiter's storms and cloud belts, the Moon's mountains and impact craters, and of course the four Galilean satellites circling the giant planet like a miniature solar system.

    Jupiter's trademark Great Red Spot will also be on display--and it is worth a look. Astronomers recently announced that the enormous swirling storm, twice as wide as the planet Earth, is "spinning up."
    Actually, explains planetary scientist Glenn Orton of NASA's Jet Propulsion Laboratory, "the Red Spot is shrinking." He likens it to "the iconic picture of a figure skater pulling her arms in to spin faster. As the size contracts, the spin rate increases."
    John Rogers, head of the British Astronomical Association's Jupiter Section, noticed the phenomenon in recent pictures of Jupiter snapped by amateur astronomers. He was able to track a dark cloudy feature as it swirled three times around the Red Spot's central vortex. The circulating streak completed the circuit in only 4.0 days, shorter than the 4.5 days Rogers measured in 2006 using the same method.

    Jupiter's Great Red Spot is spinning up. Learn more about it in the ScienceCast video Christmas Sky Show
    Looking back in time, "the trend of decreasing rotation period has been consistent at least since Voyager visited Jupiter in 1979," says Rogers. As the spot shrinks, it also changes shape. Decades ago the Red Spot looked like a sausage – now it’s more circular.
    What happens next is hard to say. "Perhaps the Red Spot will continue to shrink and eventually disappear," speculates Rogers. "Or perhaps it will be rejuvenated if some new storm arises to reinforce it."
    One thing is certain, Christmas night is a good time to look. The Red Spot will be transiting Jupiter's middle for observers across North America and will be perfectly positioned for telescopic observations.

    But you don't need a telescope to enjoy the show. Step outside at sunset on Dec. 25th and look east. After all, Christmas isn't really over until you've seen the holiday lights.

    Author: Dr. Tony Phillips |Production editor: Dr. Tony Phillips | Credit: Science@NASA

    Christmas Sky Show - NASA Science
     
  10. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    New Mars Research: A Large Portion of Ancient Planet Was Under Water
    [​IMG]

    A new study co-authored by the Georgia Institute of Technology indicates that clay minerals, rocks that usually form when water is present for long periods of time, cover a larger portion of Mars than previously thought. In fact, Assistant Professor James Wray and the research team say clays were in some of the rocks studied by Opportunity when it landed at Eagle crater in 2004. The rover only detected acidic sulfates and has since driven about 22 miles to Endeavour Crater, an area of the planet Wray pinpointed for clays in 2009.

    The project, which was led by Eldar Noe Dobrea of the Planetary Science Institute, identified the clay minerals using a spectroscopic analysis from the Mars Reconnaissance Orbiter. The research shows that clays also exist in the Meridiani plains that Opportunity rolled over as it trekked toward its current position.

    “It’s not a surprise that Opportunity didn’t find clays while exploring,” said Wray, a faculty member in the School of Earth and Atmospheric Sciences. “We didn’t know they existed on Mars until after the rover arrived. Opportunity doesn’t have the same tools that have proven so effective for detecting clays from orbit.”

    The clay signatures near Eagle crater are very weak, especially compared to those along the rim and inside Endeavour crater. Wray believes clays could have been more plentiful in the past, but Mars’ volcanic, acidic history has probably eliminated some of them.

    "It was also surprising to find clays in geologically younger terrain than the sulfates,” said Dobrea. Current theories of Martian geological history suggest that clays, a product of aqueous alteration, actually formed early on when the planet's waters were more alkaline. As the water acidified due to volcanism, the dominant alteration mineralogy became sulfates. "This forces us to rethink our current hypotheses of the history of water on Mars," he added.

    Even though Opportunity has reached an area believed to contain rich clay deposits, the odds are still stacked against it. Opportunity was supposed to survive for only three months. It’s still going strong nine years later, but the rover’s two mineralogical instruments don’t work anymore. Instead, Opportunity must take pictures of rocks with its panoramic camera and analyze targets with a spectrometer to try and determine the composition of rock layers.

    “So far, we’ve only been able to identify areas of clay deposits from orbit,” said Wray. “If Opportunity can find a sample and give us a closer look, we should be able to determine how the rock was formed, such as in a deep lake, shallow pond or volcanic system.”

    As for the other rover on the other side of Mars, Curiosity’s instruments are better equipped to search for signs of past or current conditions for habitable life, thanks in part to Opportunity. Wray is a member of Curiosity’s science team.*The study is published online in the current edition of Geophysical Research Letters.

    The Daily Galaxy via Georgia Institute of Technology
    Image credit: Eagle Crater from NASA/JPL
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Low สุดๆ

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ธันวาคม 2012
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
     
  13. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    คุณ hiflyer

    มันนิ่งๆอย่างนี้ดูน่ากลัวนะครับ คนโบราณบอกว่าก่อนพายุใหญ่จะมาลมมันจะสงบนิ่งๆอย่างนี้ประมาณสองวันแล้วพายุใหญ่ก็มา อาจจะไม่ใช่ก็ได้นะครับเพราะนี่มันลมสุริยะมันอาจจะไม่เหมือนกับลมพายุ
     
  14. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    ภาพถ่ายล่าสุดขณะนี้ จากยาน SDO ในย่านแสง 193 อังสตรอม พบช่องโหว่ในบรรยากาศชั้นโคโรนาของดวงอาทิตย์ (สีดำกลางภาพ) ลมสุริยะที่่ออกจากฃ่องนี้จะมาถึงโลกใน 3 วัน ความเร็วลมที่สงบในขณะนี้อาจเพิ่มขึ้น

    [​IMG]

    ที่มาจาก เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ODD-RADIUS MOON HALOS: Many sky watchers have witnessed a halo around the moon--a ring of light that surrounds the lunar disk at a radius of 22 degrees. The phenomenon is caused by pencil-shaped ice crystals in cirrus clouds that bend moonlight. On Dec. 21st, Harald Edens of Magdalena, New Mexico, witnessed a rare double halo:

    [​IMG]

    "Just after 7 PM local time I noticed a bright 22-degree halo around the moon," says Edens. "It was only when I started photographing that halo when I discovered a rare 9-degree halo inside the 22-degree halo."

    The inner 9-degree halo is caused by ice crystals in the shape of pyramids. "Apart from the 9-degree circular halo, an 18-degree and perhaps a 35-degree circular halo were also present at times," he adds. All of these "odd-radius" halos are caused by icy pyramids.

    The display quickly became even more varied. Edens saw at least a dozen different kinds of luminous rings and arcs, enumerated in his complete description of the event. "The display was highly transient," he notes. "Not only did the cirrus move fairly swiftly in the sky, but the halos - especially the odd-radius halos - appeared to come and go over the course of just a few minutes." But what a few minutes it was!
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    SUNLIGHT IN A BEER CAN: Last June, astronomers at Philippus Lansbergen Observatory invited members of the public to build their own solargraphs and record the motion of the sun across the sky. "On Dec. 21st, we received more than 50 solargraphs from people all over the Netherlands who collected sunlight in an empty beercan during the last 6 months," reports Jan Koeman. "Here are some results."

    [​IMG]

    A solargraph is a pinhole camera made from a soda or beer can lined with a piece of photographic paper. Using this simple device, the citizen scientists of the Netherlands recorded the daily track of the sun beginning on June 21st, the northern summer solstice, and ending two seasons later on Dec. 21st, the northern winter solstice. High tracks correspond to early summer, low tracks to late autumn. The only gaps are due to clouds and rain. The Netherlands have a reputation for rainy weather, but these solargraphs show the sun was out more often than not.

    With winter beginning in the northern hemisphere (and summer in the south), now is the time for a new batch of solargraphs to be deployed. Readers are encouraged to follow directions in the links below.

    spaceweather.com
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Several Reports of Strange

    Occurrences in Northern Skies

    by Mitch Battros - Earth Changes Media

    Several reports have been sent to US government agencies telling of strange occurrences in the northern skies above 75° latitude. The reports tell of unfamiliar sightings of red glowing lights followed by a stream of dim figures with a non-linear trajectory. It's as if something was pulling a ship-like structure traveling in various directions.

    [​IMG]

    JUST IN: Reports now indicate this structure with waving-like silhouettes similar to the northern lights - may be dipping below 75° latitude. If this elliptic-like trajectory continues in its estimated path - It would be above United States skies around 0100 hours (just after midnight) Tuesday the 25th. MORE COMING LATER.....
     
  18. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    25-12-2012

    Merry Christmas. A minor C4.1 solar flare was observed around Sunspot 1635 at 13:04 UTC this morning. Believe it or not, this is one of the largest solar flares this month. Image by SDO/EVE.

    วันนี้วันคริสต์มาส เมี่อเวลา 13.04 UTC ตรงกับ 20.04 น.เวลาประเทศไทย จุดดับที่ 1635 ได้ปลดปล่อยพลังสุริยะ
    ออกมาที่ระดับ C 4.1 ซึ่งเป็นพลังสุริยะที่ถูกปล่อยออกมา ใหญ่ที่สุดของเดีอนนี้ ภาพโดย SDO / EVE

    [​IMG]

    ที่มาจาก SolarHam.com
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 ธันวาคม 2012
  19. wapeewan

    wapeewan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    17
    ค่าพลัง:
    +121
    เอเอฟพี - เครื่องบินทหารคาซัคสถาน บรรทุกกำลังพล 27 ราย ในนั้นหลายคนเป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของหน่วยตรวจตระเวนชายแดน ประสบอุบัติเหตุทางใต้ของประเทศเมื่อวันอังคาร(25) และหวั่นกลัวว่าอาจเสียชีวิตทั้งหมด

    คณะกรรมการความมั่นคงแห่งชาติของคาซัคสถานระบุว่าเครื่องบินทหาร An-72 บรรทุกลูกเรือ 7 คนและกำลังพล 20 นาย ในนั้นมีพันเอก ตูร์กันเบค สแตมเบคอฟ หัวหน้าหน่วยลาดตะเวนชายแดนคาซัคสถานรวมอยู่ด้วย ขึ้นบินจากสนามบินกรุงอัสตานา ก่อนประสบอุบัติเหตุห่างจากสนามบินชิมเคนท์ ท่าอากาศยานปลายทางราว 20 กิโลเมตร

    สถานีโทรทัศน์เคทีเคของคาซัคสถานรายงานว่าเครื่องบินลำนี้ดิ่งลงจากระดับความสูง 800 เมตรและสภาพอากาศรอบๆท่าอากาศยาน ณ ขณะนั้นเลวร้ายมาก พร้อมอ้างคำสัมภาษณ์ผู้เห็นเหตุการณ์รายหนึ่งซึ่งบ้านอยู่ใกล้บริเวณเครื่องบินตกบอกว่าได้ยินเสียงดังสนั่นคล้ายระเบิดและพอรุดไปยังจุดเกิดเหตุก็พบเห็นฉากอันน่าสยดสยอง "หมวกทหารและเศษชิ้นส่วนมนุษย์กระจายเกลื่อนไปหมด ราวกับกองเนื้อวัวเลย ขณะที่ไฟก็ลุกไหม้เครื่องบินด้วย"

    แหล่งข่าวด้านความมั่นคงบอกกับสำนักข่าวอินเตอร์แฟ็กซ์ว่าพวกที่อยู่บนเครื่องเสียชีวิตทั้งหมด เช่นเดียวกับเคทีเคที่ระบุจากข้อมูลข่าวสารล่าสุดน่าเชื่อว่าคงไม่มีคนรอดชีวิต อย่างไรก็ตามคณะกรรมการความมั่นคงแห่งชาติยังไม่ยืนยันเรื่องนี้และบอกว่าได้ตั้งกรรมการสอบสวนสาเหตุของเครื่องบินตกแล้ว

    หายนะทางการบินบ่อยครั้งในชาติอดีตสหภาพโซเวียตแห่งนี้ สืบเนื่องจากความเก่าแก่ของยุทโธปกรณ์ที่ไม่เคยถูกทดแทนเลยนับตั้งแต่ระบอบโซเวียตล่มสลาย รวมถึงความบกพร่องของมนุษย์ด้วย

    พ.อ.ตูร์กันเบค สแตมเบคอฟ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรักษาการหัวหน้าหน่วยตรวจตระเวนชายแดน เมื่อเดือนมิ.ย.ที่ผ่านมา หลังเกิดเหตุสังหารหมู่ทหารตระเวนชายแดน 14 ศพ ที่ด่านตรวจใกล้กับจีน ในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา และเมื่อเดือนที่แล้ว เจ้าหน้าที่วลาดิสลาฟ ชีลัคช์ ผู้ก่อเหตุถูกลงโทษประหารชีวิต


    ASTVผู้จัดการออนไลน์ 26 ธันวาคม 2555 01:46 น.
     
  20. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    สกู๊ปพิเศษ

    ปี'56 “ดาวหาง” มาให้ชม 2 ดวง

    [​IMG]
    ภาพคาดการณ์ความสว่างของดาวหางไอซอนเมื่อมองจากฟ้าที่อังกฤษ ในวันที่ 29 พ.ย.56 หลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้า (universetoday)

    สมาคมดาราศาสตร์ฯ เผยปี '56 มีดาวหางที่อาจสว่างจนมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 2 ดวง คือ “ดาวหางแพนสตาร์ส” ที่ค้นพบเมื่อปี '54 โดยคาดว่าจะได้เห็น 30 นาที หลังอาทิตย์ตก ช่วงกลาง มี.ค.และ “ดาวหางไอซอน” ที่ค้นพบเมื่อปี '55 ซึ่งคาดว่าจะได้เห็นช่วงปลาย พ.ย.56 ไปถึงต้นปี '57

    สมาคมดาราศาสตร์ไทย เผยว่า ในปี 2556 นี้ คนไทยมีโอกาสได้ชมดาวหางที่คาดว่าจะสว่างจนมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 2 ดวง ได้แก่ ดาวหางแพนสตารร์ส (Panstarrs) หรือ C/2011 ซึ่งค้นพบเมื่อ มิ.ย.54 และขณะนี้กำลังเข้าใกล้ดวงอาทิตย์และเริ่มปรากฏหางจากความร้อนของดวงอาทิตย์แล้ว ดาวหางไอซอน (Ison) หรือ C/2012 S1 ซึ่งเพิ่งค้นพบเมื่อเดือน ก.ย.55

    ทั้งนี้ นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวหางแพนสตารร์สจากภาพถ่ายเมื่อเดือน มิ.ย.54 ขณะที่ดาวหางอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 7.9 หน่วยดาราศาสตร์ (ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ เรียกว่า 1 หน่วยดาราศาสตร์) จะเข้าใกล้โลกที่สุดในวันที่ 5 มี.ค.56 ซึ่งระนาบโคจรของดาวห่าง 84 องศา หรือเกือบตั้งฉากกับระนนาบวงโคจรของโลก และจะผ่านจุดที่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในวันที่ 10 มี.ค.56

    คาดว่า จะเริ่มสังเกตดาวหางแพนสตาร์ส ด้วยตาเปล่าได้ในช่วงปลาย ม.ค.56 หรือต้น ก.พ.56 แต่สังเกตได้ดีในซีกโลกใต้ ส่วนในประเทศไทยยังไม่สามารถเห็นได้เพราะดาวหางขึ้นและตกเกือบพร้อมดวงอาทิตย์ ข้อมูลจากสมาคมดาราศาสตร์ฯ ระบุว่า ช่วงเวลาที่ดีที่สุดสำหรับประเทศน่าจะเป็นช่วง 9-17 มี.ค.56 เนื่องจากเป็นช่วงที่ดาวหางสว่างที่สุด และตกลับขอบฟ้าช้าที่สุด

    “อย่างไรก็ดี ดาวหางจะปรากฏเฉพาะช่วงเวลาที่ยังมีแสงยามเย็น ท้องฟ้าไม่มืดสนิท และปรากฏอยู่ในกลุ่มดาวปลา ซึ่งเราอาจสังเกตเห็นหางที่ทอดยาวขึ้นเหนือขอบฟ้า จากแนวโน้ม คาดว่า วันที่ 8-12 มี.ค.56 ความสว่างหรือโชติมาตรของดาวหางจะอยู่ในช่วง +1 ถึง -1 ซึ่งนับว่าสว่างมาก แต่การสังเกตจะทำได้หลังดวงอาทิตย์ตกไปแล้ว 30 นาที โดยหันหน้าไปทางทิศตะวันตก” ข้อมูลจากสมาคมดาราศาสตร์ ระบุ

    ส่วนดาวหางไอซอนนั้น เพิ่งถูกค้นพบเมื่อเดือน ก.ย.55 ที่ผ่านมา ขณะดาวหางอยู่ห่าวจากดวงอาทิตย์ 6.3 หน่วยดาราศาสตร์ และจะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดราว 28-29 พ.ย.56 ที่ระยะห่าง 0.012 หน่วยดาราศาสตร์ หรือ 1.9 ล้านกิโลเมตรและห่างจากผิวดวงอาทิตย์เพียง 1.2 ล้านกิโลเมตร โดยคาดว่าความสว่างของดาวหางจะอยู่ในช่วงโชติมาตร -10 ถึง -16 หรือสว่างใกล้เคียงและมากกว่าดวงจันทร์ (ค่าโชติมาตรยิ่งติดลบยิ่งสว่าง)

    หากความสว่างเป็นไปตามคาดหมาย ทางสมาคมดาราศาสตร์ฯ ระบุว่า ผู้สังเกตในประเทศไทยจะได้เห็นดาวหางไอซอนด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้ากลางคืนช่วงต้นเดือน พ.ย.56 - เดือน ม.ค.57 แต่ยกเว้นช่วงปลาย พ.ย.-ต้น ธ.ค.55 เพราะดาวหางจะขึ้นและตกไปพร้อมดวงอาทิตย์ โดยดาวหางไอซอนจะเข้าใกล้โลกที่สุดราว 26-27 ธ.ค.56 ที่ระยะ 0.4 หน่วยดาราศาสตร์ หรือ 64 ล้านกิโลเมตร

    นายปณัฐพงศ์ จันทรวัฒนาวณิช เจ้าหน้าที่สมาคมดาราศาสตร์ไทย ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ตำแหน่งของดาวหางไอซอนบนฟ้านั้นอยู่ในตำแหน่งที่เห็นง่ายกว่าดาวหางแพนสตารร์ส เพราะอยู่กลางฟ้า และยังมีความสว่างกว่ามาก แต่ความสว่างก็อาจคลาดเคลื่อนได้ โดยเมื่อดาวหางเฉียดใกล้ดวงอาทิตย์อาจสลายไปจนไม่อาจเห็นได้

    “สำหรับดาวหางแพนสตารร์สอยู่ในตำแหน่งที่ดูได้ทั้งโลก ซึ่งตอนนี้เริ่มเข้ามาใกล้และเริ่มปรากฏหางแล้ว นักดาราศาสตร์มีข้อมูลเกี่ยวกับดาวหางดวงนี้มากกว่า ส่วนดาวหางไอซอนจะเห็นได้ดีในประเทศซีกโลกเหนือ ตอนนี้ยังไม่เข้ามาใกล้ ยังเป็นก้อนน้ำแข็งอยู่ และไม่ปรากฏหางที่เกิดจากความร้อนของดวงอาทิตย์” ปณัฐพงศ์ กล่าว

    เจ้าหน้าที่สมาคมดาราศาสตร์ฯ ให้ข้อมูลอีกว่า ปกติดาวหางจะเข้ามาในระบบสุริยะปีละหลาย 10 ดวง แต่ในปี 56 นี้พิเศษที่มีดาวหางสว่างถึง 2 ดวงที่จะได้เห็นในเมืองไทย ซึ่งปกติจะใช้เวลา 5-10 ปีจึงจะได้เห็นดาวหางสว่างๆ จึงน่าติดตาม เพราะทั้งสว่างและเห็นได้ในเมืองไทย ซึ่งตอนนี้นักดาราศาสตร์รู้แค่ว่าจะโคจรอย่างไร แต่ไม่มีใครรู้ว่าเมื่อโดนความร้อนของดวงอาทิตย์แล้วจะปริแตกหรือไม่

    [​IMG]
    ภาพดาวหางแพนสตาร์ส ซึ่งถ่ายจากเปอร์โตริโก เมื่อ 4 ก.ย.55 (Efrain Morales/Jaicoa Observatory)

    [​IMG]
    ภาพดาวไอซอน เมื่อ 22 ก.ย.55 จากหอดูดาว RAS สหรัฐฯ (E. Guido, G. Sostero, N. Howes)

    [​IMG]
    นายปณัฐพงศ์ จันทรวัฒนาวณิช


    ที่มาจาก ASTVผู้จัดการออนไลน์
     

แชร์หน้านี้

Loading...