สมาธิในบ้านทุกท่านทำได้จริง

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย บดินทร์จ้า, 17 มิถุนายน 2008.

  1. Ricardo DeCalgary

    Ricardo DeCalgary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +11,341
    สาธุ สาธุ สาธุ โมทนาบุญด้วยคน อีกครั้งครับ คุณ บดินทร์จ้า

     
  2. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. jinny95

    jinny95 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    6,074
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +9,666
    ใจจริงไม่อยากให้ผู้ปฎิบัติเทียบญาณวิปัสสนา แต่สำหรับคุณบดินทร์คงต้องเป็นกรณีพิเศษแล้ว ก็ฝากไว้เทียบสำหรับผู้ที่คิดว่าได้มรรคผล หรือผู้ได้มรรคผลแล้ว เจริญในธรรม

    วิปัสสนาภูมิ (9)

    พระครูเกษมธรรมทัต (สุรศักดิ์ เขมรํสี)
    9.ญาณ 16

    ณ โอกาสบัดนี้ อาตมาภาพจะได้แสดงพระธรรมเทศนา ตามหลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนา ตามหัวข้อที่ได้กำหนดไว้ คือเรื่องญาณ 16 เพื่อให้คณาจารย์ นิสิต และญาติโยมทั้งหลายได้มีโอกาสฟัง เพื่อพิจารณาเป็นแนวทางในการประพฤติ-ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน หลังจากที่บรรดานิสิตทั้งหลาย ได้มาเข้าอบรมปฏิบัติกรรมฐานตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2534 เป็นต้น แล้วก็มาสิ้นสุดวันนี้ 8 ตุลาคม 2534 ก็ถือโอกาสบรรยายธรรมเกี่ยวกับเรื่อง ญาณ 16 คือ ลำดับขั้นตอนของวิปัสสนาที่จะเกิดขึ้น ว่าเกิดขึ้นเป็นไปอย่างไร ตั้งแต่ญาณที่ 1 ไป จนกระทั่งถึงญาณที่ 16 ตั้งแต่โลกิยะขึ้นไปจนถึงโลกุตตระ ถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท เป็นไปอย่างไร ก็จะนำมาแสดงพอสังเขป พอเข้าใจ ตามเวลาที่กำหนดให้

    หลังจากผู้มีศรัทธาต่อการประพฤติปฏิบัติกรรมฐาน ได้ลงมือประพฤติปฏิบัติเจริญวิปัสสนา คือตั้งสติกำหนดรู้รูปนามที่กำลังปรากฏทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน คู้ เหยียด เคลื่อนไหว ทุกขณะ ได้เจริญสติกำหนดให้เป็นไปโดยติดต่อกัน มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ พิจารณากาย อย่างเช่น ลมหายใจเข้า หายใจออก อิริยาบถยืน เดิน นั่ง นอน อิริยาบถต่างๆ ทั้งหมด การก้ม การเงย การคู้เหยียด เคลื่อนไหว กำหนดเวทนา การเสวยอารมณ์ สบายกาย ไม่สบายกาย ดีใจ เสียใจ เฉยๆ กำหนดจิตที่ขณะคิดนึกไปสู่อารมณ์ต่างๆ ก็กำหนดที่สภาพจิตใจ จิตเห็น จิตได้ยิน จิตรู้กลิ่น จิต-รู้รส จิตรู้สัมผัส จิตคิดนึก มีสติรู้เท่าทันจิต และกำหนดรู้ถึงสภาวธรรมในจิตใจที่ปรุงแต่งจิตใจ เช่น ความพอใจ ไม่พอใจ สงบ ไม่สงบ สภาวธรรมที่ปรุงแต่งในจิตใจต่างๆ มีความเป็นปกติไม่บังคับ มีสติรู้เท่าทันรูปนามที่กำลังปรากฏเป็นปัจจุบัน ชั่วขณะแวบเดียวๆ ขณะเห็นนิดหนึ่ง ขณะได้ยิน ขณะรู้กลิ่น รู้รส รู้สัมผัส คิดนึก มีความติดต่อกันอยู่ก็เกิดวิปัสสนาญาณขึ้น

    ญาณที่ 1 เรียกว่า นามรูปปริจเฉทญาณ เป็นญาณที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง รูปธรรม นามธรรม คือ มองเห็นความต่างกันของธรรมชาติ 2 อย่าง คือเห็นรูปก็เป็นลักษณะธรรมชาติอย่างหนึ่ง เห็นนามก็เป็นลักษณะธรรมชาติอย่างหนึ่ง เช่นว่า เห็นว่าการเคลื่อนไหวก็เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่ง ที่ไม่สามารถจะรับรู้อะไรได้ ตัวมันเองไม่สามารถจะรับรู้อารมณ์ได้ เป็นเพียงแต่ธรรมชาติที่เกิดขึ้นมาแล้ว ก็สลายตัวไป จัดว่าเป็นรูปธรรม ส่วนตัวที่เข้าไปรู้ เป็นธรรมชาติที่สามารถจะรับรู้อะไรได้ จัดเป็นนามธรรม เห็นความต่างกันของธรรมชาติ 2 อย่าง คือเห็นรูปก็อย่างหนึ่ง เห็นนามก็อย่างหนึ่ง อย่างนี้เรียกว่า สามารถ แยกรูปแยกนามได้ เห็นรูปเห็นนามต่างกันไม่ว่าจะเป็นทวารอื่นก็ตาม ขณะที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง หย่อน ตึง มากระทบกาย มีสติรู้ทัน ก็เห็นว่า เย็น ร้อน อ่อน แข็ง หย่อน ตึง นั้นก็เป็นแต่ธรรมชาติ ที่มากระทบ แล้วก็ สลายไป ไม่สามารถจะรับรู้อะไรได้ ส่วนตัวจิตใจเป็นตัวที่เข้าไปรู้ได้ เป็นธรรมชาติ ชนิดหนึ่ง เป็นนามธรรม หรือลมหายใจที่เข้าออก กระทบโพรงจมูก หายใจเข้าเย็น หายใจออกร้อน เป็นตัวที่ไม่สามารถจะไปรับรู้ อะไรได้ มีหน้าที่กระทบแล้วก็สลายไป เป็นรูปธรรม ส่วนตัวจิตที่เข้าไปรับรู้ลมหายใจ สามารถที่จะรับรู้ อะไรได้ ก็ไปรับรู้ลมหายใจ เป็นนามธรรม เห็นลมหายใจก็อย่างหนึ่ง เห็นตัวที่เข้าไปรู้ลมหายใจก็อย่างหนึ่ง อย่างนี้ก็เรียกว่า มีปัญญาแยกสภาวรูปนามได้ ก็จะทำให้เข้าใจว่า ในชีวิตนี้มันไม่มีอะไร ในเนื้อแท้จริงๆ แล้วมีแต่รูปกับนามเกิดขึ้นเท่านั้น ปราศจากความเป็นสัตว์เป็นบุคคล ในขณะที่จิตไปสัมผัสรูปนามนั้น ก็ไม่มีสัตว์บุคคล ตัวตนอะไรต่ออะไร เมื่อผู้ปฏิบัติทำความเพียรต่อไป เจริญสติกำหนดรูปนามยิ่งขึ้นไป ก็จะขึ้นถึงญาณที่ 2

    ญาณที่ 2 เรียกว่า ปัจจยปริคคหญาณ คือ เห็นเหตุปัจจัยของรูปนาม คือจะเห็นว่า รูปนามนี้ เป็นเหตุเป็นปัจจัยซึ่งกันและกัน มีความเกี่ยวข้องเป็นปัจจัยกันเช่นขณะที่การก้าวไปๆ การคู้ การเหยียด การเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นไปเพราะว่ามีธรรมชาติอย่างหนึ่งเป็นตัวเหตุปัจจัย คือมีจิต จิตปรารถนาจะให้ กายเคลื่อนไหว กายก็เคลื่อนไหวไป จิตปรารถนาจะยืน กายก็ยืน จิตปรารถนาจะเดิน กายก็เดิน จิตปรารถนาจะนอน กายก็นอน คือลมก็ไปผลักดันให้กายนั้นเป็นไป อย่างนี้เรียกว่า นามเป็นปัจจัย ให้เกิด รูป นามคือจิตใจเป็นปัจจัยให้เกิดรูป รูปที่ก้าวไป รูปที่เคลื่อนไหว เกิดขึ้นมาได้เพราะว่าจิตเป็นปัจจัย ส่วนรูปบางอย่าง รูปเป็นปัจจัยให้เกิดนาม เช่นเสียง เสียงมีมากระทบประสาทหู เสียงเป็นรูป เมื่อกระทบ ประสาทหู ซึ่งเป็นรูปด้วยกัน ก็เกิดการได้ยินขึ้น เกิดการรับรู้ทางหูขึ้น ก็จะมองเห็นว่ามันเป็นเหตุปัจจัยกัน เสียงมากระทบจึงเกิดการได้ยินขึ้น เรียกว่ารูปเป็น ปัจจัย ให้เกิดนาม เย็นร้อน อ่อนแข็ง อ่อนตึง เป็นรูป มากระทบกาย ก็เกิดการรับรู้ซึ่งเป็นนามเกิดขึ้น เมื่อผู้ปฏิบัติธรรมมีความเพียร ดูรูปนาม เห็นความ เกิดดับ เห็นความเป็นเหตุเป็นปัจจัยของรูปนามอยู่เสมอก็จะก้าวขึ้นสู่ญาณที่ 3

    ญาณที่ 3 สัมมสนญาณ ในสมมสนญาณนี้ก็เป็นญาณที่เห็นไตรลักษณ์ คือเห็นอนิจจัง ความ ไม่เที่ยงของรูปนาม เห็นทุกขัง คือความทนอยู่ใน สภาพเดิมไม่ได้ของรูปนาม เห็นอนัตตา ความบังคับบัญชา ไม่ได้ของรูปนาม แต่ว่าการเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในญาณที่ 3 นี้ ยังเอา สมมุติบัญญัติ มาปน ยังมี สุตมยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการได้ฟังมา เอาจินตามยปัญญา ความตรึกนึกคิดมาปนอยู่ด้วย ยังไม่บริสุทธิ์ในความเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็ทำให้รู้เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ที่ยังมีสมมุติบัญญัติ มีปัญญาที่ได้จากการได้ฟัง จากการคิดพิจารณาขึ้นมา ก็เกิดเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาขึ้น เมื่อผู้ปฏิบัติ ได้ทำความเพียร กำหนดดูรูปนามเรื่อยไปก็จะก้าวขึ้นสู่ญาณที่ 4

    ญาณที่ 4 คือ อุทยัพพยญาณ ในอุทยัพพยญาณนี้ ก็แบ่งเป็น 2 ตอนเป็น ตรุณอุทยัพพยญาณ อย่างหนึ่ง กับเป็น พลวอุทยัพพยญาณ อย่างหนึ่ง คือ เป็นอุทยัพพยญาณอย่างอ่อน กับอุทยัพพยญาณ อย่างแก่ คือ ญาณที่ 4 อย่างอ่อนกับญาณที่ 4 อย่างแก่ ในขณะที่ญาณที่ 4 อย่างอ่อน คือตรุณอุทยัพพย ญาณนี้ ก็จะทำให้เกิด วิปัสสนูปกิเลสขึ้น ที่จะทำให้วิปัสสนาเศร้าหมอง วิปัสสนูปกิเลส คือกิเลสที่จะทำให้ วิปัสสนาเศร้าหมอง คือทำให้วิปัสสนาไม่เจริญขึ้น จะไม่ก้าวหน้า จะหยุดชะงัก ทำให้ผู้ปฏิบัตินั้นหลงติดอยู่ ในวิปํสสนูปกิเลสเหล่านั้น วิปัสสนาก็ไม่เจริญขึ้น ทำวิปัสสนา กรรมฐานไม่ก้าวหน้า อยู่แค่นั้น เพราะฉะนั้น เป็นสิ่งที่นักปฏิบัติจะต้องทำความเข้าใจว่า เมื่อถึงขณะนั้นแล้ว มันจะเกิดวิปัสสนูปกิเลสขึ้นอย่างใดอย่าง หนึ่ง ก็ให้รู้ทัน วิปัสสนูปกิเลสนี้ที่จริงมันก็เป็นธรรมฝ่ายดี เช่น ปิติ ความสุข ความสงบ เป็นธรรมฝ่ายดี แต่มันเสียตรงที่ว่า เกิดความไปยินดี พอใจ ติดใจในสิ่งเหล่านั้น เรียกว่ามี นิกันต ความไปพอใจ วิปัสสนาญาณก็ไม่เจริญ
    วิปัสสนูปกิเลส ที่เกิดมี 10 ประการนั้น
    ประการที่ 1 ก็คือ โอภาส โอภาส ได้แก่ แสงสว่าง เกิดความสว่างขึ้นในใจ จิตใจของบุคคลนั้น จะรู้สึกเกิดความพอใจ กับสิ่งอัศจรรย์ในใจ ที่มันปรากฏขึ้น มีความสว่างในจิตในใจขึ้น มีเหมือนเป็นแสงสว่างอยู่ทั่วตัว เกิดความยินดี พอใจ เมื่อเกิดความ ยินดี พอใจ รูปนามก็มองไม่เห็น ไม่เห็น รูปนาม เพราะมัวติดอยู่กับแสงสว่างเหล่านั้น เรียกว่ามี นิกันติ
    ประการที่ 2 เกิด ญาณะ ญาณะก็คือ ความรู้ เกิดความรู้แก่กล้าขึ้น มีความรู้สึกว่าตัวเองนั้นรู้อะไรทะลุปรุโปร่งไปหมด จะคิด จะนึก จะพิจารณาอะไร มันเข้าใจไปหมด ก็เกิดความพอใจยินดีติดใจในความรู้ของตนที่เกิดขึ้น วิปัสสนาญาณก็ไม่เจริญก้าวหน้า
    ประการที่ 3 ก็คือ ปีติ ได้แก่ความอิ่มเอิบใจ จะมีความอิ่มเอิบใจอย่างมาก อย่างแรงกล้า จิตใจมีความปลื้มอกปลื้มใจ ปิติ อิ่มเอิบ อย่างมาก แล้วก็เกิดความยินดีพอใจ ในปีติเหล่านี้ วิปัสสนาก็ไม่เจริญ
    ประการที่ 4 เกิด ปัสสัทธิ คือความสงบอย่างแรงกล้า จิตใจมีความสงบอย่างมาก มีความนิ่ง ความสงบ ลงไปอย่างมาก แล้วก็เกิดความพอใจ เกิดความยินดี พอใจในความสงบ ที่จริงความสงบมันเป็นเรื่องดี แต่มันไปเสียที่เกิดความยินดีพอใจ ตัวความ ยินดี พอใจ เป็นโลภะ มักจะเกิดขึ้น ถ้ารู้ไม่ทัน พอเกิดแล้ว การเห็นรูปนามก็ไม่เห็น ไปติดอยู่กับวิปัสสนูปกิเลสเหล่านี้
    ประการที่ 5 เกิด สุขะ สุขะคือความสุขอย่างแก่กล้า คือ ความสบายใจ ใจเย็นสบายมาก แล้วก็เกิดนิกันติ คือความพอใจใน ความสบาย เป็นโลภะเช่นกัน วิปัสสนาญาณก็เจริญไม่ได้
    ประการที่ 6 เกิด อธิโมกข์ คือตัดสินใจเชื่อ เกิดความเชื่อลงไปอย่างมากเชื่อถือลงไป แล้วก็ติดใจในความเชื่อถือเหล่านั้น ไม่เห็นรูปนาม อีกเหมือนกัน
    ประการที่ 7 เกิดปัคคหะ คือความเพียรอย่างแรงกล้า ผู้ปฏิบัติจะเกิดความเพียรอย่างมาก เพราะทำให้ไม่มีความพอดี ก็ไม่เห็นรูปนามต่อไป เพราะเกิดความติดใจในความเพียรนั้น
    ประการที่ 8 เกิด อุปัฏฐานะ คือ สติ เกิดสติแก่กล้า มีความรู้สึกว่าสตินี้คล่องว่องไวเหลือเกิน ที่จะกำหนดรู้สภาวธรรมต่างๆ อารมณ์ต่างๆ ที่มากระทบในส่วนต่างๆ จุดต่างๆ สติมีความรับรู้ว่องไวมาก แล้วก็เกิดความพอใจในสติที่มีสติระลึกรู้ได้เท่าทัน ที่จริงสติเป็นเรื่องดี เป็นสิ่งที่ควรเจริญ ให้เกิดขึ้น แต่มันไปเสียตรงที่มีนิกันติ คือมีความยินดีพอใจในสติที่เกิดขึ้น วิปัสสนาก็ก้าวไปไม่ได้
    ประการที่ 9 เกิด อุเบกขา คือ ความเฉยๆ จิตใจมีความเฉยมาก ไม่รู้สึกดีใจเสียใจ ใจมีความเฉย แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดนิกันติ พอใจใน ความเฉยได้ สังเกตได้ยาก มันเฉยแล้วพอใจในความเฉย ไม่โลดโผน วิปัสสนาก็เจริญไม่ได้
    ประการที่ 10 นิกันติ ความยินดีติดใจ เป็นตัวสำคัญที่ทำให้วิปัสสนาญาณไม่เจริญ ฉะนั้น ก็เป็นที่เข้าใจว่า สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ ที่จริงเป็นเรื่องดี ปิติก็ดี ความสุขก็ดี ความสงบก็ดี ความรู้สติก็ดี มันเป็นเรื่องดีเกิดขึ้นมา แต่ว่ามันเสียตรงที่มีนิกันติ คือความเข้าไปยินดีติดใจ ทำให้การเจริญวิปัสสนานั้น ไม่ก้าวหน้าเพราะไปติดอยู่แค่นั้น
    วิธีที่จะผ่านวิปัสสนูปกิเลสเหล่านี้ไปจะทำอย่างไร ผู้ปฏิบัติก็ต้องมีความแยบคายในการพิจารณา ถึงลักษณะความยินดีพอใจที่เกิดขึ้น สังเกตให้ออกว่าขณะนี้เกิดความพอใจ เช่นเกิดความสงบ มีความรู้สึก พอใจในความสงบอยู่ ก็ให้รู้ทันว่า นี่ลักษณะของความพอใจ เกิดปีติ และเกิดความพอใจในปีติ ก็รู้ว่า นี่พอใจๆ เกิดสติ เกิดปัญญา แล้วพอใจ ก็รู้เท่าทันความพอใจ ถ้าเกิดการที่เข้าไปรู้เท่าทันลักษณะของ ความพอใจได้ ความพอใจนั้นก็จะหลบหน้าไป ก็กลับเป็นปกติขึ้นก็จะก้าวขึ้นสู่อุทัพพยญาณอย่างแก่ คือ ญาณที่ 4 อย่างแก่ ในญาณที่ 4 อย่างแก่ก็จะเห็นความเกิดดับของรูปนาม มีความบริสุทธิ์ของการเห็น เห็นรูปเกิดขึ้น ดับไป เกิดขึ้น ดับไป ไม่ว่าจะเป็นทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ กำหนดไป ตรงไหน เห็นแต่ความเกิดดับไปหมด เสียงดังมากระทบหูได้ยิน กำหนดรู้ก็เห็นมันเกิดดับไปเลย ใจที่คิดนึก กำหนดรู้เห็น ความเกิดดับไป เย็น ร้อน อ่อน แข็ง หย่อน ตึง มากระทบกำหนดรู้ถึงความเกิดดับไปทันที ไม่ว่าจะอารมณ์ส่วนไหนก็ตามที่ปรากฏอยู่ เห็นความเกิดขึ้นดับไปอย่างรวดเร็ว นี่เป็นญาณที่ 4 จากนั้น ถ้าผู้ปฏิบัติทำความเพียรต่อไปไม่ลดละ เพ่งดูรูปนามที่เกิดดับ เกิดดับ อยู่อย่างนั้นเรื่อยไป ก็จะขึ้นสู่ญาณที่ 5

    ญาณที่ 5 เรียกว่า ภังคญาณ ในภังคญาณนี้จะเห็นแต่ฝ่ายดับ เห็นรูปนามนั้นดับไป ดับไป ด้วยความเร็ว เพราะรูปนามเกิดดับรวดเร็วถี่มาก เมื่อญาณแก่กล้า ความรู้สติปัญญาแก่กล้า เข้าไปทัน กับรูปนามที่ดับเร็ว มันก็เลยเห็นแต่ดับๆ ๆ ๆ เห็นแต่ฝ่ายดับไป ดับไป ท่านอุปมาเหมือนยืนอยู่ ในตรอก มองไปปากตรอก ปากตรอกนั้นเห็นรถวิ่งผ่านแว่บ ผ่านไปๆ ๆ ๆ เห็นแต่ฝ่ายดับๆ ๆ ๆ ไป นี่เป็นญาณที่ 5 เมื่อมีความเพียร ไม่ท้อถอย กำหนดดูไปเรื่อยๆ เห็นรูปนามเกิดดับ ดับไป ดับไป ดับไป ก็จะก้าวขึ้นสู่ญาณที่ 6

    ญาณที่ 6 ญาณที่ 6 เรียกว่า ภยญาณ จะเห็นรูปนามที่มันดับไปนั้นแต่เกิด ความรู้สึกขึ้นในใจว่า เป็นภัยเสียแล้ว เห็นว่ามันเป็นภัย ก่อนนั้น เคยหลงใหล แต่ตอนนี้รู้สึกว่าเป็นภัย คือรูปนามที่ประกอบเป็น ชีวิต เป็นอัตภาพ เป็นชีวิตจิตใจ ซึ่งดูไปแล้วเป็นแต่รูปนาม มันจะเห็นว่าก็มันดับ อยู่อย่างนี้ มันย่อยยับ ต่อหน้าต่อตา ไม่ว่าส่วนไหนมันก็ดับไปหมด สิ่งที่ปรากฏให้รู้ดับไป ตัวที่รู้ดับไป ตัวผู้รู้ดับไป มันมีแต่ความ ดับไป ดับไป มันรู้สึกว่าเป็นภัย เป็นภัยเสียแล้ว ไม่ใช่สิ่งที่น่าอภิรมย์เสียแล้วในชีวิตนี้ เป็นภัย

    ญาณที่ 7 อาทีนวญาณ ก็จะเกิดความรู้สึกว่าเป็นโทษ ในขณะที่เห็นรูปนามดับไป ดับไป เกิดความ รู้สึกว่าเป็นโทษ นอกจากจะเห็นภัยแล้ว ยังรู้สึกว่าเป็นโทษอีก

    ญาณที่ 8 คือ นิพพิทาญาณ นิพพิทาญาณนี้จะรู้สึกเบื่อหน่าย ในเมื่อรูปนาม เป็นภัยเป็นโทษ มันก็รู้สึกเบื่อหน่าย ไม่ได้ติดใจเลย ในรูปนามนี้ มันน่าเบื่อจริงๆ แต่ก็ไม่หนี ไม่ท้อถอย ก็ยังคงดูต่อไป แต่บางคนก็อาจจะเลิกรา เบื่อมากๆ เข้า เมื่อเพียรพยายามต่อไปก็จะขึ้นญาณที่ 9

    ญาณที่ 9 มุญจิตุกัมยตาญาณ คือ มีความรู้สึกใคร่จะหนีให้พ้น เมื่อมันเบื่อแล้วก็ใคร่จะหนี มีความรู้สึกอยากจะหนีไป เหมือนบุคคลที่อยู่ใน กองเพลิง มันก็อยากจะไปให้พ้นจากกองเพลิงเหล่านี้ จากนั้นเมื่อเพียรพยายามต่อไปก็จะขึ้นญาณที่ 10

    ญาณที่ 10 ปฏิสังขาญาณ ในปฏิสังขาญาณนี้มันจะหาทางว่าทำอย่างไร ถึงจะพ้นได้ ในเมื่อตอนแรกมันใคร่จะหนี พอถึงญาณอันนี้ ก็หาทาง ที่จะหลุดพ้นให้ได้ เมื่อเพียรพยายามต่อไป ก็จะขึ้นถึงญาณที่ 11

    ญาณที่ 11 สังขารุเปกขาญาณ สังขารุเปกขาญาณนี้ มีลักษณะวางเฉยต่อรูปนาม คือเมื่อกำหนดรู้ หาทางหนี หนีไม่พ้น ยังไงก็หนีไม่พ้น ก็ต้องดูเฉยอยู่ การที่ดูเฉยอยู่นี้ทำให้ สภาวจิตเข้าสู่ความเป็นปกติ ในระดับสูง ไม่เหมือนบุคคลทั่วไป บุคคลทั่วไปเวลาเกิดเห็น ทุกข์เห็นโทษเห็นภัยนี้ สภาวะของจิตใจจะดิ้นรน ไม่ต้องการ จะกระสับกระส่ายดิ้นรน แม้แต่ในวิปัสสนาญาณ ก่อนหน้าสังขารุเปกขาญาณ ก็ยังมีลักษณะ ความดิ้นรน ของจิต คือยังมีความรู้สึกอยากจะหนี อยากจะให้พ้นๆ สภาวะของจิตยังไม่อยู่ในลักษณะที่ปกติ จริงๆ มันก็หลุดพ้นไม่ได้ แต่เมื่อมันดูไป จนถึงแก่กล้า แล้วไม่มีทาง ก็ต้องวางเฉยได้ ซึ่งในขณะที่เห็นความ เกิดดับ เป็นภัยเป็นโทษน่าเบื่อหน่ายอยู่อย่างนั้น มันก็ยังวางเฉยได้ แม้จะถูกบีบคั้นอย่างแสน สาหัส แทบจะขาดใจ มันก็วางเฉยได้ เมื่อวางเฉยได้มันก็จะก้าวขึ้นสู่ญาณที่ 12

    ญาณที่ 12 อนุโลมญาณ เป็นญาณที่เป็นไปตามอำนาจกำลังของอริยสัจจ์ ที่จะสอดคล้องต่อไป ในโลกุตตรญาณ จากนั้นก็จะก้าวขึ้นสู่ญาณที่ 13 เรียกว่า โคตร-ภูญาณ

    ญาณที่ 13 โคตรภูญาณ คือญาณที่มีหน้าที่โอนโคตรจากปุถุชนก้าวสู่ความเป็นอริยะ ในขณะนั้น จะทิ้งอารมณ์ที่เป็นรูปนาม ไปรับนิพพาน เป็นอารมณ์ แต่ว่าโคตร-ภูญาณยังเป็นโลกิยะอยู่ ตัวมันเอง เป็นโลกิยะ แต่มันไปมีอารมณ์เป็นนิพพาน แล้วจากนั้นก็จะเกิดมัคคญาณขึ้นมา

    ญาณที่ 14 มัคคญาณ มัคคญาณนี้เป็นโลกุตตรญาณ จะทำหน้าที่ประหารกิเลสระดับอนุสัยกิเลส ทำหน้าที่รู้ทุกข์ ละเหตุแห่งทุกข์ แจ้งนิโรธ ความดับทุกข์ เจริญตนเองเต็มที่ คือองค์มรรค 8 มีการประชุม พร้อมกัน ทำหน้าที่ละอนุสัยกิเลสแล้วก็ดับลง มีนิพพานเป็นอารมณ์

    ญาณที่ 15 ผลญาณ ผลญาณเป็นโลกุตตรญาณ เกิดขึ้นมา 2 ขณะ เป็นผลของมัคคญาณ ทำหน้าที่รับนิพพานเป็นอารมณ์ 2 ขณะ แล้วก็ดับลง

    ญาณที่ 16 ปัจจเวกขณญาณ ญาณพิจารณา มรรค ผล นิพพาน เป็นโลกิย-ญาณ ญาณพิจารณา เหมือนคนที่ผ่านเหตุการณ์อะไรมา ก็จะกลับพิจารณาสิ่งที่ผ่านมา แต่ญาณนี้ พิจารณามรรคที่ตนเองได้ พิจารณาผลที่ตนเองได้ พิจารณาพระนิพพาน และถ้าคนมีหลักปริยัติ ก็จะพิจารณากิเลสอันใด ที่ละ ไปได้ แล้ว กิเลสอันใดที่ยังเหลืออยู่ และถ้าคนไม่มีหลักปริยัติก็พิจารณาแค่ มรรค ผล นิพพาน ในระหว่างที่ญาณ ก้าวขึ้นสู่อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณนี้ ท่านก็อุปมาให้ฟัง เหมือนกับ บุคคลที่จะก้าวกระโดดข้ามฝั่ง ฝั่งมันอยู่ไกล ก็โหนเถาวัลย์ ก็ต้องอาศัยกำลังที่วิ่งมาอย่างแรง วิ่งมาด้วย ความไว แล้วก็เหนี่ยวเอาเถาวัลย์โยนตัวขึ้นไป ในขณะที่โยนตัวขึ้นไป ก็เหมือนเป็นอนุโลมญาณ คล้อยไป พอข้ามไปถึงฝั่งหนึ่งก็ปล่อยเถาวัลย์นั้น ในขณะที่ปล่อยนั้นเหมือนกับโคตรภูญาณ คือปล่อยอารมณ์ที่เป็น โลกิยะ ได้แก่รูปนาม ไปรับนิพพานซึ่งเป็นโลกุตตระเป็นอารมณ์ แล้วก็ตกลงถึงพื้น ในขณะตกลงถึงพื้น เหมือนเป็นมัคคญาณ แล้วพอตั้งหลักได้ ก็เป็น ผลญาณเกิดขึ้น หลังจากนั้นก็พิจารณา แต่ว่าในสภาวธรรม ของโลกุตตระ มันเป็นธรรมที่พ้นโลก ผู้ปฏิบัติที่เข้าถึงแล้ว ก็ไม่สามารถนำมาแสดง ให้แจ่มแจ้งได้ เพราะมัน เป็นเรื่องที่รู้ได้เฉพาะตน บุคคลอื่นที่ยังเข้าไม่ถึงจะไม่สามารถจะทำความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง เพราะว่า ความคิดความอ่าน ของปุถุชน ก็จะมีความรู้สึกที่อยู่ในโลก เป็นไปในโลกนี้ มันจะมีขอบเขต ของการนึกคิด ความเข้าใจอยู่ในโลก ส่วนสภาพโลกุตตรธรรมที่พ้นโลกนั้น ปุถุชนจะคิดไปไม่ถึงเลย จะไม่สามารถจะทำ ความเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ นี่ก็เป็นการแสดงลำดับความเป็นไปพอสังเขปของวิปัสสนาญาณ ที่ทำให้ บรรลุความเป็นอริยบุคคล ผ่านญาณ 16 รอบที่ 1 ก็ได้สำเร็จเป็นโสดาบัน กิเลสยังไม่หมด แต่ว่าตัดออกไปได้ บางส่วน แต่ส่วนไหนที่ตัดขาดไปแล้ว จะไม่เกิดขึ้นในจิตใจอีกเลย เช่น ความสงสัยจะไม่เกิดขึ้นอีกเลย ความโลภ ที่ประกอบไปด้วยความเห็นผิด หมดไปเลยจากจิตใจ จะมีเห็นอย่างถูกต้อง เข้าใจอย่างถูกต้อง แต่ว่าก็ยังมีความโลภบางอย่าง มีโทสะบางอย่าง แต่ว่าไม่รุนแรง ถึงขนาดที่จะกระทำอกุศลกรรม ชนิดที่ จะนำไปสู่อบาย โสดาบันนี้ ศีล 5 จึงบริสุทธิ์ จะไม่ล่วงศีล 5 เป็นเด็ดขาด แต่ก็ยังมีความโลภ ยังมีความโกรธ แต่ว่าไม่มีความอาฆาตมาดร้าย ไม่มีความตระหนี่ นี่เป็นลักษณะของโสดาบัน ก็เท่ากับทำลายภพชาติ ไปมากมาย การที่จะเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไปก็จะเกิดอย่างมาก 7 ชาติ ก็จะสำเร็จเป็นอรหันต์ ถึงแม้ จะขาดความเพียร เกิดไปๆ 7 ชาติยังไงก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้วก็ปรินิพพาน ก็พ้นจากการเวียนว่าย ตายเกิด แต่ถ้าหากบุคคล ได้เพียร พยายามต่อไป สามารถที่จะดำเนินผ่านญาณ 16 อีกรอบหนึ่ง ก็ลักษณะ เดียวกัน ผ่านญาณ 16 รอบที่ 2 ก็เป็น สกทาคามิบุคคล ผ่านญาณ 16 รอบที่ 3 ก็เป็น อนาคามิบุคคล ผ่าน ญาณ 16 รอบที่ 4 ก็หมดสิ้นกิเลส เป็นพระอรหันต์ เป็นอเสขบุคคล ไม่ต้องศึกษาอีกต่อไป พ้นทุกข์

    ฉะนั้น ในขั้นต้นนี้เป็นสิ่งที่เราต้องทำความเข้าใจให้ดี ส่วนบั้นปลายก็เป็นไปสอดคล้องของมันไปเอง ขอให้เราทำถูกในขั้นต้น คือมีสติกำหนดรู้ รูปนามให้ตรง รูปนามที่เป็นปัจจุบัน เราจะเห็นว่า ในญาณ ทุกญาณ ที่จะส่งไปถึงโลกุตตรญาณนั้น ตั้งแต่ญาณที่ 1 ไปจนถึงอนุโลมญาณ จะมีรูปนาม เป็นอารมณ์ทั้งนั้นเลย มีรูปนามเกิดดับ เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นอารมณ์ ฉะนั้นรูปนามจึงเป็นทางเดินของวิปัสสนา วิปัสสนาจะต้องมีรูปนามเป็น อารมณ์ ถ้าขณะใด อารมณ์ตกไปจากรูปนาม ไปดูอย่างอื่น ก็แสดงว่าตกไปจากทางของวิปัสสนา เช่น ไปดูภาพนิมิต ไปอยู่กับความว่าง ไปติดอยู่กับ ความสงบ ไม่เห็นรูป-นาม มันก็ไปได้แค่นั้น

    ฉะนั้นจุดยืนของวิปัสสนาคือมีรูปนามเป็นอารมณ์ตลอดเวลา เราก็เพียรพยายาม ที่จะกำหนดรู้เท่าทันรูปนาม ที่เกิดขึ้นให้ได้ปัจจุบันๆ ก็จะเกิด วิปัสสนาญาณขึ้นไป ตามลำดับ ฉะนั้นขั้นต้นเป็นส่วนสำคัญ ที่จะต้องทำการศึกษาให้เข้าใจ อะไรเป็นรูป อะไรเป็นนาม อะไรไม่ใช่รูปไม่ใช่นาม คือ สมมุติบัญญัติ เพื่อกำหนด จะได้ปล่อยวางจากสมมุติบัญญัติ คือชื่อต่างๆ ภาษา รูปร่าง ความหมาย ซึ่งเป็นสมมุติบัญญัติออกไป กำหนดให้ตรง ปรมัตถ์ และให้ได้ปัจจุบัน และเข้าไปสู่ความปกติ ไม่บังคับ ไม่เคร่งเครียด มันก็จะเห็นธรรมะ เห็นความเป็นจริงของชีวิต

    ตามที่ได้แสดงมาวันนี้ ก็เห็นว่าสมควรแก่เวลา จึงขอยุติไว้แต่เพียงเท่านี้ ที่สุดนี้ขอความ เจริญในธรรม จงมีแก่ญาติสัมมาปฏิบัติธรรม ทุกท่านทุกคนเทอญ


    �Ի��ʹ����� 09 �ҳ 16 ��Ф��������ѵ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มิถุนายน 2009
  4. Ricardo DeCalgary

    Ricardo DeCalgary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +11,341
    สวัสดีครับ คุณ บดินทร์จ้า;

    บริเวณบ้านดูเป็นธรรมชาติดีน่ะครับ สงสัยจะเย็นสบาย

    มีคำถามครับ

    เห็นมีผ้าสีมาพันที่ต้นกล้วยด้วย "ไม่ทราบว่ามีเหตุผลสำคัญพิเศษ หรือเปล่าครับ"

    บุญรักษาครับ


     
  5. Ricardo DeCalgary

    Ricardo DeCalgary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +11,341
    สวัสดีครับคุณ jinny95

    โมทนาบุญ ด้วยครับกับ บทความธรรมะ ที่นำมาบอกกล่าวกับกัลยาณมิตรที่เข้ามาอ่านกระทู้นี้

    ดีมากๆครับ

    สาธุ สาธุ สาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 13 มิถุนายน 2009
  6. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [[FONT=&quot]๓๐๓] สัญญาอบรมวิมุตติ ๕ อย่าง[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๑. อนิจจสัญญา [สัญญาที่เกิดขึ้นในญาณเป็นเครื่องพิจารณาเห็นว่าเป็นของ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ไม่เที่ยง][/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๒. อนิจเจ ทุกขสัญญา [สัญญาที่เกิดขึ้นในญาณเป็นเครื่องพิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ในสิ่งที่ไม่เที่ยง][/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๓. ทุกเข อนัตตสัญญา [สัญญาที่เกิดขึ้นในญาณเป็นเครื่องพิจารณาเห็นว่าไม่ใช่ตน[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ในสิ่งที่เป็นทุกข์][/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๔. ปหานสัญญา [สัญญาที่เกิดขึ้นในญาณเป็นเครื่องพิจารณาเห็นว่าควรละ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เสีย][/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๕. วิราคสัญญา [สัญญาที่เกิดขึ้นในญาณเป็นเครื่องพิจารณาเห็นความคลาย[/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]เสียซึ่งความกำหนัด]
    [/FONT]<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค - หน้าที่ [/FONT][FONT=&quot]206[/FONT]
    <o></o>
     
  7. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [[FONT=&quot]๑๓๐] ดูกรมหาบพิตร อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่[/FONT]
    [FONT=&quot]เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้แหละ ด้วยใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ทั่วทั้งตัว ที่ใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้วจะไม่ถูกต้อง ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงนั่ง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]คลุมตัวตลอดศีรษะด้วยผ้าขาว ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายทุกๆ ส่วนของเขาที่ผ้าขาวจะไม่ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ถูกต้อง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้แหละด้วยใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้วจะไม่ถูกต้อง ดูกรมหาบพิตร[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    [/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค - หน้าที่ [/FONT]72<o></o>
    [FONT=&quot] วิชชา ๘ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] วิปัสสนาญาณ ๑ [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๓๑] ภิกษุนั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะ เธอ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้แล มีรูปประกอบด้วยมหาภูต ๔ เกิดแต่มารดาบิดา เติบโต [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสดไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น มีอันทำลายและกระจัดกระจายเป็น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ธรรมดาและวิญญาณของเรานี้ ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ในกายนี้ ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แก้วไพฑูรย์อันงาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์ แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว สุกใสแวววาว[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียวเหลืองแดงขาวหรือนวลร้อยอยู่ในนั้น บุรุษมีจักษุจะพึงหยิบ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แก้วไพฑูรย์นั้นวางไว้ในมือแล้วพิจารณาเห็นว่า แก้วไพฑูรย์นี้งาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว สุกใสแวววาว สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียวเหลืองแดง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ขาวหรือนวลร้อยอยู่ในแก้วไพฑูรย์นั้นฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว [/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้ม [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]น้อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้แลมีรูป ประกอบด้วยมหาภูต ๔ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เกิดแต่มารดาบิดา เติบโตด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น มีอันทำลาย [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]กระจัดกระจายเป็นธรรมดา และวิญญาณของเรานี้ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ในกายนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ประจักษ์ข้อก่อนๆ. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] มโนมยิทธิญาณ ๑ [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๓๒] ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อนิรมิต รูปอันเกิด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แต่ใจ คือนิรมิตรกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักไส้ออกจากหญ้าปล้อง เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นี้หญ้าปล้อง นี้ไส้ หญ้าปล้องอย่างหนึ่ง ไส้อย่างหนึ่ง ก็แต่ไส้ชักออกจากหญ้าปล้องนั่นเอง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้ดาบ นี้ฝัก [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    [/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค - หน้าที่ [/FONT]73<o></o>
    [FONT=&quot]ดาบอย่างหนึ่ง ฝักอย่างหนึ่ง ก็แต่ดาบชักออกจากฝักนั่นเอง อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]จะพึงชักงูออกจากคราบ เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้งู นี้คราบ งูอย่างหนึ่ง คราบอย่างหนึ่ง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ก็แต่งูชักออกจากคราบนั่นเอง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ เธอย่อม [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]โน้มน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]น้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
    [/FONT]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]อิทธิวิธญาณ๑
    [/FONT]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]ทิพยโสตญาณ[/FONT]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]เจโตปริยญาณ[/FONT]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot] ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ[/FONT]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]จุตูปปาตญาณ[/FONT]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot] อาสวักขยญาณ [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๓๘] ภิกษุนั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อม [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]หลุดพ้นแล้ว. รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค - หน้าที่ [/FONT]78<o></o>
    [FONT=&quot]เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนสระน้ำบนยอดเขาใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนขอบสระนั้น จะพึงเห็นหอยโข่งและหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวดและ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ก้อนหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง กำลังว่ายอยู่บ้าง หยุดอยู่บ้าง ในสระน้ำ เขาจะพึงคิดอย่างนี้ว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สระน้ำนี้ใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว หอยโข่งและหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวดและก้อนหินบ้าง[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ฝูงปลาบ้าง เหล่านี้กำลังว่ายอยู่บ้าง กำลังหยุดอยู่บ้าง ในสระน้ำนั้น ดังนี้ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้ อาสวะ นี้อาสวสมุทัย [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้นแม้จากกามาสวะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ประจักษ์ข้อก่อนๆ ดูกรมหาบพิตร ก็สามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้ออื่น ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่า[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อนี้ ย่อมไม่มี. [/FONT]<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2009
  8. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ขอบคุณท่าน jinny95 ที่เข้ามาร่วมเสนอแนะครับ แต่ถ้าจะให้ละเอียดกว่านี้ ขอท่านผู้สนใจทุกๆท่าน ลองศึกษาข้อมููลจากหนังสือ วิมุตติรัตนมาลี เล่ม ๑และ เล่ม ๒ เขียนโดยพระราชวิสุทธิโสภณ (วิลาศ ญาณวโร ปธ ๙ ) ซึ่งข้อมูลจะละเอียดมากกว่านี้ ในหนังสือเล่มนี้จะมีวิธีการแก้วิปัสสนูกิเลส ๑๐ และ รายละเอียดขั้นตอนการผ่านไปแต่ละญาณได้ดีทีเดียวครับ ขอนำเสนออีกทีหนึ่ง
     
  9. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    อาของผมนำมาผูกไว้ เพื่อความเป็นสิริมงคล(รับขวัญ)ครับ เป็นความเชื่อของบ้านนอกอ๊ะครับ ต้นกล้วยต้นนี้ปลีฝังอยู่ในต้น หวีหงายขึ้นฟ้า และหันมาทิศตะวันออก ตามหลักฮวงจุ๊ยถือว่าเป็นสิ่งมงคลครับ
     
  10. Ricardo DeCalgary

    Ricardo DeCalgary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +11,341
    ขอบคุณมากครับ

    คุณบดินทร์จ้า มีความรู้หลายศาสตร์นะครับ รู้หลักฮวงจุ๊ยด้วย

    โมทนาบุญ สาธุ สาธุ สาธุ ครับ

     
  11. Ricardo DeCalgary

    Ricardo DeCalgary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +11,341
    สวัสดีครับ คุณบดินทร์จ้า และ กัลยาณมิตร ท่านผู้เจิญทุกท่าน

    วันนี้ตอนเช้า ผมไปวัดมาครับ ทำบุญถวายภัตราหารเช้า สังฆทาน จีวร ข้าวสาร (ข้าวเหนียว หนึ่งถุง ๔.๕ กิโล) อาหารกระป๋อง และของใช้อื่นๆ รวมทั้งผมไปขัดห้องน้ำที่วัดมาด้วยครับ

    กุศลผลบุญอันใดที่เกิดขึ้น ขอทุกท่านร่วมโมทนาบุญ และได้รับผลบุญนั้น ด้วยเทอญ
     
  12. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    อนุโมทนาสาธุครับ

    วันนี้ผมก็ใส่บาตรพระที่หน้าบ้านเหมือนกัน อนุโมทนาบุญ ร่วมกันนะครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <o:shapedefaults v:ext="edit" spidmax="1026"/> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <o:shapelayout v:ext="edit"> <o:idmap v:ext="edit" data="1"/> </o:shapelayout></xml><![endif]--> [FONT=&quot]ประสบการณ์พบเจออากาศแก้ว[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]หลายๆท่านอาจจะงงๆกับ คำว่า [/FONT][FONT=&quot]อากาศแก้ว[/FONT][FONT=&quot] จะเหมือนกับอากาศในอรูปฌาน หรือเปล่า ในฐานะที่ผู้เขียนเคยผ่านประสบการณ์ในอรูปฌาน อากาสานัญจายตนะ มาแล้ว ข้าพเจ้าขอบอกได้เลย ว่ามีความคล้ายๆกัน แต่แตกต่างกันตรง จะใสเหมือนแก้ว ใสเหมือนอากาศบนถนนที่เกิดไอแดดแผดเผา หรือ หากใครเคยฝึกกสิน ก็จะมีลักษณะใสเหมือนภาพในกระสิน และ การมองซึ่งวัตถุทุกๆอย่างจะไม่เด่นในสัณฐานเท่าไรนัก มองดูรถ ดูบ้าน ดูตึก จะไม่ปรากฏลักษณะเด่นชัดเท่าไร คือไม่ปรากฏส่วนโค้ง ส่วนเว้าที่ชัดเจนนัก (ต้องใช้การเพ่งพินิจ) จะพบเห็นแต่ โมเลกุลของอากาศเสียเป็นส่วนใหญ่ และการมองดูบทความในกระทู้ สายตาผู้เขียน จะสะดุดชัดอยู่ที่อากาศระหว่างหน้าคอมเสียมากกว่า ไม่เหมือนแต่ก่อนหากมองหน้าคอม สายตาจะวิ่งไปจับที่จอคอมทันที แต่เดี่ยวนี้ จะต้องสะดุดอากาศที่จะถึงหน้าคอมก่อน เข้าท่าดีแฮะ ประสบการณ์แบบนี้ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] เมื่อพบเห็นประสบการณ์แบบนี้ ทำให้อดนึกถึง ครูบาอาจารย์หลายๆท่าน ถึงแม้สังขารจะล่วงเลยไป มาก แต่ก็สามารถอ่านหนังสือได้ ปกติ โดยไม่ต้องใส่แว่น เพราะหากจะอ่านสิ่งใดหรือดูสิ่งใด เพียงแค่กำเนิดจิตไปเพ่งภาพที่ปรากฏจะชัดเจนมาก [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] และอีกอย่างหนึ่งทำให้ผู้เขียนอดนึกถึงวิธีการก้าวผ่านสมมุติบัญญัติ หรือการเดินทางผ่านระยะทางทั้งหลายที่ตกอยู่ใต้สมมุติบัญญัติ หรือเรียกง่ายๆคือ วิชาย่นระยะทาง หรือ อิทธิวิธีต่างๆที่ครูบาอาจารย์พระอรหันต์หลายๆรูปท่านได้กระทำกัน (เจโตวิมุตติและปัญญาวิมุตติ) [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กรกฎาคม 2009
  13. Ricardo DeCalgary

    Ricardo DeCalgary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +11,341
    โมทนาบุญ สาธุ สาธุ สาธุ ด้วยคนอีกครั้งครับ คุณบดินทร์จ้า

    ขอโมทนาในทุกๆบุญ ที่คุณบดินทร์จ้า ได้ทำไปแล้ว กำลังทำ และ จะทำต่อไป ครับ

    สาธุ สาธุ สาธุ

     
  14. prayut.r

    prayut.r เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +1,707
    อ่านบทความของคุณบดินทร์ แล้วอยากบอกว่ามีกำลังใจในการทำสมาธิภาวนาขึ้นอีกมากเลยครับ
    แต่ยังมีความสงสัยในเรื่องของการกำหนดภาวนารู้ลมหายใจในขณะทำงาน หรือกิจการอื่นๆ รู้สึกว่ามันยากเหลือเกิน ภาวนาๆ อยู่คิดเรื่องงานหรือทำงานอยู่ ก็หลงไปอีกแล้ว เป็นอย่างนี้ตลอดเลยครับ
    คุณบดินทร์พอจะมีเคล็ดลับอะไรบ้างไหมครับ ช่วยแนะนำหน่อยครับ
     
  15. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ปกติแล้วผมจะใช้คำบริกรรมว่า พุธ-โธ ตลอด ตั้งแต่ตื่นนอนเช้า จนกระทั่งนอนก็อยู่กับคำบริกรรม ผมก็ฝึกแบบนี้จนเคยชิน เมื่อชินแล้วก็พิจารณาไตรลักษณ์ เสริมทุกๆวัน จนเป็นเองอัตโนมัติ ครับ เมื่อสติหลุดจากคำบริกรรม ก็มาพิจารณาไตรลักษณ์เองทุกๆวัน แต่เวลาที่คิดเรื่องงาน ผมก็คิดแบบปกติ แต่พอไม่คิดสติก็กลับมาที่ลมหายใจตลอด จนเคยชินไปแล้วครับ[​IMG]
     
  16. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    การฝึกให้เคยชินนั้นก็แสนง่ายดายมาก คือ ใช้อิริยาบถปกติที่กระทำอยู่ทุกๆวัน นั่ง ยืน เดิน นอน กินข้าว ขับถ่าย อาบน้ำแปรงฟัน หรือ อื่นๆ ก็ใส่คำภาวนา พุธ-โธ ตลอด ไม่ต้องไปนั่งหลับตานะ เพราะความตายนั้นมีอยู่ทุกอริยาบถ ฝึกแค่ 1 สัปดาห์ก็ชินแล้วครับ
     
  17. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot] ตายเมื่อใดก็พร้อมไปนิพพานเมื่อนั้น[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ในคืนวันพระประมาณต้นๆเดือน มิถุนายน 52 ข้าพเจ้า ไล่ลมหายใจจากหยาบ ไปสู่ละเอียด เพราะช่วงนี้ปฏิบัติแบบไม่ค่อยรีบเร่งเท่าไร พักผ่อนสมองและผ่อนคลาย กำลังสมาธิ เตรียมไว้ลุยหนักในช่วงเข้าพรรษา แต่ก็พิจารณาลมหายใจอยู่ตลอด แต่ไม่ได้นั่งสมาธินานน่ะ[/FONT]
    [FONT=&quot]อืม..............ลมหายใจที่ว่าละเอียดเริ่มหยาบแล้วน่ะเรา พิจารณาตนเอง เอาล่ะวันนี้ขอไล่ลมหายใจที่หยาบให้ละเอียดดูซิ ก็เริ่มไล่ลมหายใจมาทั้งวัน (พอดีหยุดงาน) พอตกตอนก่อนนอน สวดมนต์ไหว้พระเสร็จแล้ว เตรียมพักผ่อน ขณะที่นอนกำหนดลมหายใจไปเรื่อยๆ ก็เปลี่ยนมานอนตะแครงซ้าย แล้วก็กำเนิดลมหายใจปกติ ไล่ 3 ฐาน อืม...ยังจับฐานได้แม่นเหมือนเดิมแฮะ ลมหายใจก็เบาลงมาก ทันใดนั้นก็มีความรู้สึกว่า มีใครมานอนด้านข้าง ใจก็เอ๋ใครมานอนด้านข้างหว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แต่ความอยากรู้ เอาล่ะจะต้องพิสูจน์ให้ได้ เตรียมพร้อม.... .. จากนอนตะแครงหันหลังมาทางซ้าย ก็พลิกตัวมาทางด้านขวาอย่างรวดเร็ว ............อยากดูมากเลยคือ อะไร หน่อ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] แต่แหมน่าเสียดายมีแต่ความว่างเปล่า .... โธ่เอ๋ย ...ช่างมัน ( ไม่ได้เตรียมใจไว้ว่าถ้าหากเป็นเจ้าผีอย่างว่า แล้วจะทำอย่างไร เพราะจะลองทดสอบสติดูว่าเจอเหตุการณ์ฉุกเฉินจะเป็นเช่นไร) [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]จากนั้นก็กำเนิดสติต่อ นอนหงายหน้าขึ้นเพดาน พอผ่านไปซักพักหนึ่งมีความรู้สึกว่า มีพลังงานอะไรบางอย่างพยายามดันเจ้ากายทิพย์ที่อยู่ข้างใน จากด้านปลายเท้า (เป็นพลังงานบางอย่าง) เราก็ไม่ยอม แต่สุดท้ายก็สู้ไม่ได้ ดันร่างกายทิพย์เราออกมา พอกายทิพย์หลุดออกมา แล้วสติของกายทิพย์ข้าพเจ้า ก็บอกออกไปว่า ถ้าหากว่าอยากได้กายหยาบของข้าพเจ้าก็เอาไปเถอะ หากข้าพเจ้าตายนะขณะนี้ แล้วข้าพเจ้าก็ขอ ไปนิพพานแล้วน่ะ ..... อย่าหาว่าข้าพเจ้าไม่รู้จักนิพพานน่ะ ทันใดนั้นเจ้ากายทิพย์ก็กลับเข้าร่างเองอัตโนมัติ .....ซักพักหนึ่งข้าพเจ้าก็ลืมตา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] เอ๋ สรุปแล้วพลังงานนั้นคืออะไรหว่า ....... [/FONT][FONT=&quot]? [/FONT][FONT=&quot]จนเดี๋ยวนี้ก็ยังไม่ได้คำตอบ


    แหมเหมือนรู้เลยแฮะ พิมพ์เรื่องนี้แค่วันเดียวได้คำตอบเลย เมื่อคืนนี้ โอ้โห.... สู้กันแบบสุดๆ ตัวใหญ่ท่วมหลังคาเลย ...........แต่ก็ยังพอไหว...เหนื่อยเหมือนกัน นะเรา.......... ยัง..ฉันยังไม่ตาย(หัวหน้ากิเลสน่ะ ครับ) ............ยิ่งเข้าใกล้รัง อวิชามากเท่าไร ก็ยิ่งสนุกมากครับ ได้ครบทุกรสชาติเลย ดังนั้นช่วงเข้าพรรษานี้ขอฟัดเจ้าตัวอวิชา ให้เต็มที่หน่อยนะครับ ไปแล้วครับ ขอให้ทุกท่านปฏิบัติให้มากๆนะครับ ไม่ไช่อ่านมาก เดี่ยวจะกลายเป็นสัญญาไปเสีย
    [/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กรกฎาคม 2009
  18. prayut.r

    prayut.r เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +1,707
    ขอบคุณครับคุณบดินทร์

    อีกคำถามครับ ปกติเวลากำหนดรู้ลมหายใจปุ๊บ ผมมีความรู้สึกว่าลมหายใจเข้าออกนั้นไม่ได้เป็นธรรมชาติเลย รู้สึกว่ามันหายใจเข้าออก ลึกๆ แปลกๆ เหมือนไปฝืนลมหายใจประมาณนั้น เลยพยายามคิดว่าเอาล่ะ เราจะลองดูลมหายใจแบบปกติสิว่ามันเป็นแบบไหน

    พอเรากำหนดดูลมหายใจเท่านั้น มันก็เป็นอีกแล้วรู้สึกว่า ลมหายใจเข้าออกมันลึกๆ เหมือนไม่ธรรมชาติอีกแล้ว ตอนนี้ผมก็ไม่สนใจแล้วมันอยากจะหายใจเข้าออกลึกๆ ก็ช่างมันดีซะอีกเห็นชัดดี

    แล้วอีกเรื่องก็องค์ภาวนาน่ะครับ มีความรู้สึกว่าถ้าผมภาวนาพุธ-โธ ปุ๊บรู้สึกว่าช่วงหายใจออกมันจะฝืนเป็นพิเศษนะครับ (ช่วงหายใจเข้าไม่เป็น) เหมือนใจมันพยายามฝืนให้ภาวนา โธ ให้ได้นานๆ แก้ไม่ได้ครับ ติดเป็นนิสัยแล้ว เลยปล่อยมันไปเป็นไงก็ช่างมัน
    แต่กลัวว่าไอ้การฝืนลมหายใจนี่มันจะไปเป็นตัวตัดความดีซะน่ะครับ
    แล้วคุณบดินทร์เคยเป็นไหมครับ ที่เรากำหนดลมหายใจอยู่พอสักพักมันเหมือนคนหลับไปน่ะครับ พอรู้สึกตัวก็จำไม่ได้ว่าเมื่อกี้ภาวนาไปรึป่าว แต่คิดว่าไม่ได้หลับแน่ๆ เพราะอาการหลับ เราจะรู้ตัวอยู่แล้วว่าเป็นไง แต่อาการผมมันหายไปเฉย ๆซะงั้นทั้งความรู้สึก ทั้งคำภาวนา การกำหนดรู้ลมหายใจ จะแก้ไงดีครับ เป็นประจำเลย
     
  19. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    อีกคำถามครับ ปกติเวลากำหนดรู้ลมหายใจปุ๊บ ผมมีความรู้สึกว่าลมหายใจเข้าออกนั้นไม่ได้เป็นธรรมชาติเลย รู้สึกว่ามันหายใจเข้าออก ลึกๆ แปลกๆ เหมือนไปฝืนลมหายใจประมาณนั้น เลยพยายามคิดว่าเอาล่ะ เราจะลองดูลมหายใจแบบปกติสิว่ามันเป็นแบบไหน
    ตอนนี้อยู่หน้าคอมหายใจอย่างไรครับ ก็แบบนั้นนะครับเขาเรียกปกติ
    พอเรากำหนดดูลมหายใจเท่านั้น มันก็เป็นอีกแล้วรู้สึกว่า ลมหายใจเข้าออกมันลึกๆ เหมือนไม่ธรรมชาติอีกแล้ว ตอนนี้ผมก็ไม่สนใจแล้วมันอยากจะหายใจเข้าออกลึกๆ ก็ช่างมันดีซะอีกเห็นชัดดี
    แต่ละบุคคลหายใจเข้า-หายใจออก สั้นยาวไม่เหมือนกันครับ

    แล้วอีกเรื่องก็องค์ภาวนาน่ะครับ มีความรู้สึกว่าถ้าผมภาวนาพุธ-โธ ปุ๊บรู้สึกว่าช่วงหายใจออกมันจะฝืนเป็นพิเศษนะครับ (ช่วงหายใจเข้าไม่เป็น) เหมือนใจมันพยายามฝืนให้ภาวนา โธ ให้ได้นานๆ แก้ไม่ได้ครับ ติดเป็นนิสัยแล้ว เลยปล่อยมันไปเป็นไงก็ช่างมัน
    แต่กลัวว่าไอ้การฝืนลมหายใจนี่มันจะไปเป็นตัวตัดความดีซะน่ะครับ

    เปลี่ยนไปเป็นคำภาวนาอย่างอื่นก็ได้ครับ ถ้าหากเป็นการฝืน อาจจะเป็น ยุบหนอ พองหนอ เข้าหนอ ออกหนอ

    แล้วคุณบดินทร์เคยเป็นไหมครับ ที่เรากำหนดลมหายใจอยู่พอสักพักมันเหมือนคนหลับไปน่ะครับ พอรู้สึกตัวก็จำไม่ได้ว่าเมื่อกี้ภาวนาไปรึป่าว แต่คิดว่าไม่ได้หลับแน่ๆ เพราะอาการหลับ เราจะรู้ตัวอยู่แล้วว่าเป็นไง แต่อาการผมมันหายไปเฉย ๆซะงั้นทั้งความรู้สึก ทั้งคำภาวนา การกำหนดรู้ลมหายใจ จะแก้ไงดีครับ เป็นประจำเลย

    แบบนี้สติยังตามไม่ทัน ลองหาวิธีใหม่นะครับ เช่น สวดอิติปิโส เท่าอายุ+1 ประมาณ 1 เดือน หรือ นับลมหายใจ นับผิดก็เริ่มนับใหม่ ลองทำดูนะครับ

    หรือ อีกกรณีหนึ่ง เป็นอาการที่ตัดวิตก-วิจารณ์ ของฌาน เมื่อเข้าสู่สมาธิที่เริ่มลึกขึ้น แต่ผมขอแนะนำให้ใช้วิธีแรกให้ชินก่อนครับ
     
  20. โทสะ

    โทสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +466
    อนุโมทนา สาธุ กับกระทู้นี้ ผมได้ประโยชน์จากกระทู้นี้มาก และคิดว่าหลายคนคงได้ประโยชน์เหมือนกันและอยากขอความกรุณาเจ้าของกระทู้ด้วยครับว่า " อยากให้ท่านเป็นพี่ใหญ่ที่คอยแนะนำนักปฏิบัติรุ่นน้อง ให้ไปถึงปลายทางด้วยเทอญ"
     

แชร์หน้านี้

Loading...