หายตัว เป็นไปไม่ได้ แต่เร็วเท่าแสงเหมือนหายตัว เป็นไปได้

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย อู่หยาจื่อ, 7 กุมภาพันธ์ 2012.

  1. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    อันนี้ พูดเชิงวิทยาศาสตร์นะครับ
    สสารและพลังงาน ไม่สูญหายไป
    ไหน เพียงแต่ถ้าแปรเปลี่ยนสภาวะ
    ไม่เที่ยง เท่านั้น การหายตัวจึงไม่
    น่าจะเป็นไปได้เลย


    แต่ถ้าสสารหรือพลังงานนั้นเดินทาง
    เร็วเท่าแสง จนเรามองไม่เห็น ไม่ทัน
    เลยนึกว่าหายตัวนั้น เป็นไปได้อยู่ครับ
     
  2. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    อันนี้เป็นทฤษฎี "หายตัว" แบบส่วนตัวนะครับ


    สมมุติ เรามีก้อนหินสามอันเรียงกันอยู่ แล้วอนุภาค
    มูลฐานของก้อนหินทั้งหมด ก็ล้วนเป็นอนุภาคขนาด
    เล็กไม่ต่างจากแสง ประกอบกันขึ้นมาเป็นสสารอยู่
    แล้ว (ทั้งก้อนหินนั้น มีพื้นฐานจากพลังงานที่ละเอียด
    เท่าๆ กับแสงนั่นเอง) ทีนี้ ถ้าอนุภาคทั้งหมด เดินทาง
    เร็วเท่าแสงไปยัง "จุดหมายเดียวกัน" พร้อมกันและ
    หยุดพร้อมกัน มันก็จะเร็วเท่าแสง เหมือนหายวับไป
    ต่อหน้าต่อตาเรา แล้วไปหยุดอยู่ ณ ปลายทางนั้น
    เหมือนปรากฏอีกที ณ จุดนั้น อันนี้ เป็นไปได้ครับ
    คือ การเดินทางของอนุภาคที่ละเอียดระดับแสงอัน
    เป็นอนุภาคมูลฐานของสสารทุกชนิดอยู่แล้ว เมื่อ
    เดินทางเร็วเท่ากัน "ตำแหน่งอ้างอิงของทุกอนุภาค"
    จะคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือ ก้อนหินทั้งสามที่
    เรียงทับกันก็อยู่ในตำแหน่งอ้างอิงเหมือนเดิม หรือ
    ราวกับว่าหายไปจากที่หนึ่งแล้วโผล่อีกที่หนึ่งนั่นเอง
    แต่ถ้าเมื่อใดที่ "อนุภาคมูลฐาน" เดินทางเร็วไม่เท่า
    กัน หรือ "หยุดไม่พร้อมกัน" จะเกิดอะไรขึ้นครับ มัน
    ก็จะ "มีตำแหน่งอ้างอิงผิดไปจากเดิม" หรือเราก็จะ
    มัน "กระจัดกระจายออกจากกัน" นั่นเอง เช่น ถ้าคน
    คนหนึ่ง กำหนดให้อนุภาคมูลฐานที่ขนาดเท่าแสงนั้น
    เดินทางเร็วเท่าแสง ไปหยุด ณ ที่หนึ่งพร้อมกัน ทว่า
    เกิดความผิดพลาดขึ้น คือ ถ้าเร็วไม่เท่ากันทุกอนุภาค
    หรือ หยุดไม่พร้อมกันทุกอนุภาค สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ คน
    ผ้นั้น จะกระจัดกระจายแตกออกจากกัน เหมือนระเบิด
    เลย นั่นเอง (ก็คือ ตายแน่นอน) น่ากลัวไหมละครับ
     
  3. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    สสารทุกอย่างสามารถเดินทางเร็วเท่าแสงได้


    ทุกสรรพสิ่ง ล้วนแต่มีอนุภาคมูลฐานเล็กเท่าแสง
    หรือเล็กกว่าแสงเสียอีก ประกอบกันขึ้นมาทั้งสิ้น
    แต่การประกอบกันที่ "ยุ่งเหยิง" (Chaos) ต่าง
    กันไป ทำให้ "รูปลักษณ์ภายนอก" ที่ตาเห็นนั้น
    ต่างกันไป เท่านั้นเอง แท้แล้ว สสารทั้งมวลล้วน
    มีอนุภาคขนาดเล็กเหมือนแสง และคงคุณสมบัติ
    เหมือนแสง เดินทางได้เร็วเหมือนแสงอยู่ เพียง
    แต่เพราะความยุ่งเหยิงเปนกลุ่มก้อน "ระบบย่อย"
    ทำให้แทนที่มันจะเดินทางไปข้างหน้าตรงๆ เร็ว
    เท่าแสงเหมือนกัน มันกลับเดินทางยุ่งเหยิงแบบ
    คล้ายมีระบบ เช่น คล้ายเป็นวงกลมรอบกันบ้าง
    หรือแบบอื่นๆ บ้าง ทำให้มันดูเหมือน "หยุดนิ่ง"
    ไม่วิ่งไปข้างหน้าเร็วเหมือนแสง ทั้งที่มันสามารถ
    วิ่งไปข้างหน้าได้เร็วเท่าแสง ทุกๆ สสารอยู่แล้ว


    ดังนั้น คนก็สามารถเดินทางเร็วเท่าแสงราวกับหายตัวได้
     
  4. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    จิตละเอียดกว่าแสง และควบคุมการเดินทางของสังขารได้


    เมื่อจิตมีสมาธิประคองร่างสังขารทั้ง "ก้อน" ให้เดินทางตรงไป
    ข้างหน้า โดย "ไม่ยึดติดเส้นทาง" เมื่อเข้าสู่สมาธิลึก, ละเอียด
    และ "ว่างจากการยึดติดเส้นทางเดิน" ชั่วขณะฉับพลันนั้นเองก็
    จะเดินทางด้วยความเร็ว "ดั้งเดิมของจิต" ซึ่งดังที่บอกว่าจิตนั้น
    ละเอียดกว่าแสง จึงเดินทางเหมือนแสง แต่เร็วกว่า ชั่วขณะที่วูบ
    ไปเหมือนดิ่งสู่สมาธิลึก แต่จิตแน่วแน่อยู่กับการเดินทางโดยไม่
    ยึดติด "เส้นทาง" นั้นเอง ก็เกิดการเดินทางแบบแสงทั้งสังขาร
    ขึ้นได้ มองภายนอกเหมือนการหายตัว หรือ "ย่อย่นระยะทาง"
    ซึ่งเป็นอภิญญาอย่างหนึ่ง แต่แท้แล้วก็คือการเดินทางในความ
    เร็วแบบแสงทั้งก้อนสังขารนั้นเอง ซึ่งถูกกำกับโดย "จิต" นั้นๆ
     
  5. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    การหายตัวหรือย่อย่นระยะทางเกิดได้ขณะพระกำลังเดินธุดงค์


    ในขณะที่ผู้ชำนาญในฌาน กำลังเดินทางด้วยเท้าเปล่าอยู่นั้น ในจิตมี
    สมาธิลึกระดับฌาน ด้วยชำนาญในการเดินจงกลม และเกิดสมาธิขณะ
    เดินจงกลมถึงระดับลึกเป็นฌานมาแล้ว บวกกับ "ความรู้ตัวทั่วพร้อม"
    ด้วยกายานุสติปัฏฐาน และ "ความไม่ยึดติดในเส้นทางเดินว่าไกลหรือ
    ใกล้แค่ไหน" ชั่วขณะนั้นเอง จะ "วูบเข้าสู่สมาธิลึกจากภายในพร้อมมี
    ความแน่วแน่ในการเดินไปสู่เป้าหมายข้างหน้า" ขณะนั้นแหละที่จะเกิด
    "การย่อย่นระยะทาง" หรือ "การหายตัว" ได้อย่างฉับพลัน พอมารู้สึก
    ตัวอีกที (เพียงชั่วครู่เอง) ก็พบว่าตนเองปรากฏอยู่อีกที่หนึ่ง เส้นทาง
    เดินบางช่วงหายไป (ซึ่งไม่ได้หายไปจริงๆ แต่เพราะเร็วจนเหมือนไม่มี
    เท่านั้นเอง) ช่วงนั้นเอง ที่เกิดอภิญญาย่อย่นระยะทางหรือการหายตัว


    ซึ่งมักเกิดขึ้นเองโดยไม่ได้เจตนา ไม่ได้กำหนด หรืออยากให้มีให้เป็น
     
  6. poon-pan

    poon-pan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2,300
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +7,126
    คุณ จกขท. พอจะทราบไหมครับ ว่าเพราะเหตุใดเราจึงมองเห็นวัตถุได้
    ผมว่าถ้าทราบหลักการแล้วก็คงจะเข้าใจได้ด้วยตัวเองว่า
    สิ่งที่มองเห็นตัวได้ ก็สามารถหายตัวได้เช่นกัน
     
  7. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829

    นี่คงเป็นส่วนของ "การเห็นหรือไม่เห็น" สิ่งใดสิ่งหนึ่งครับ
    ก็มีผลให้รู้สึกเหมือน "บางอย่างหายตัวได้" ด้วยครับ เช่น
    ถ้าคนมีอำนาจจิตในการสร้างภาพนิมิต กำหนดนิมิต อันนี้
    ผมยังไม่ได้ศึกษาลึกเท่าไร ถ้าเพื่อนๆ พอมีประสบการณ์ก็
    เสริมเพิ่มเติมได้ครับ (ก็จะได้ทราบในกรณีนี้ด้วย นอกจาก
    กรณีที่ผมยกมาเป็นหนึ่งตัวอย่างครับ)
     
  8. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    เร็วเท่าแสง ไม่ใช่เพราะอยากเร็ว
    แต่ละเอียด ถึงสภาวะเดิมแท้ของ
    สรรพสิ่งในขณะมีสมาธิสู่เป้าหมาย
    โดยไม่ยึดติด "เส้นทางที่เดินผ่าน"
    ความเร็วแสงดั้งเดิมนั้น จึงปรากฏ
     
  9. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    สรรพสิ่งล้วนมีอนุภาคเช่น แสง
    เป็นองค์ประกอบมูลฐานอยู่แล้ว
    จึงมีคุณสมบัติเหมือนแสงในตัว
    มีแสงในตัวเอง เร็วเช่นแสงอยู่แล้ว
    เพียงแต่มัว "ยุ่งเหยิง" อยู่ในระบบ
    ยึดติดเส้นทาง ไม่แน่วแน่สู่เป้าหมาย
    จึงเสื่อมจากคุณสมบัติดั้งเดิมที่เคยมี
     
  10. นิมิตา

    นิมิตา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2012
    โพสต์:
    11
    ค่าพลัง:
    +4
    ขอบคุณ สำหรับกระทู้ดีๆครับ

    อ่านแล้วทำให้ผมคิดถึงบางครั้งที่ผมฝึก กสิณ

    พอดีผมดูนาฬิกาก่อนฝึก พอฝึกไปซักพัก ผมคิดว่านานพอสมควรแต่พอดูนาฬิกา

    กลับพบว่าเวลาผ่านไปไม่กี่นาทีจนผมแปลกใจ

    เหมือนไปอยู่อีกมิติครับ

    เพราะปกติผมจะกำหนดเวลาได้ ค่อนข้างแม่นยำ
     
  11. cmdeveloper

    cmdeveloper Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    61
    ค่าพลัง:
    +61
    อ่านเพลินเลยครับท่าน ขอบคุณครับ:cool:
     
  12. ปุณบพิธ

    ปุณบพิธ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,102
    ค่าพลัง:
    +2,134
    ท่าน poon-pan ถามว่า ท่านเข้าใจกระบวนการของเห็นของมนุษย์ไหมครับ ท่านตอบไม่ตรงคำถามครับ
    ขอให้ท่านตอบให้ตรงคำถามก่อนครับ จะได้นำเข้าไปสู่หลักวิทยาศาสตร์ ที่จะทำให้สิ่งของหายตัวได้ โดยไม่ต้องใช้พลังพิเศษแต่อย่างใด เป็นวิทยาศาสตร์ล้วนๆ ต่อไป ครับ
     
  13. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829


    ปฏิบัติเอง เห็นเอง แล้วเกิดศรัทธาว่าพระพุทธองค์ตรัสรู้จริง
    ปาฏิหาริย์ที่ไม่น่าเชื่อว่าจะมี จะเกิด ก็มีได้ เกิดได้ จริงหนอ


    ส่วนการอธิบายในเชิงวิทยาศาสตร์นั้น เป็นแค่การอธิบาย
    ให้สาธารณชนพอเข้าใจเท่านั้นเองครับ ที่เหลือก็พิสูจน์เอง
     
  14. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829

    ไม่จำเป็นต้องตอบเสมอไปครับ
     
  15. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    โลกนี้ เราไม่ต้องรู้ทุกอย่าง ตอบได้หมดหรอก
    การพยายามทำตัวเหมือนตอบได้หมดเพื่ออะไร?
    เพื่อให้คนยอมรับนับถือ, ศรัทธา, สรรเสริญหรือ?
    การที่เรารู้บางอย่าง ไม่รู้บางอย่าง ไม่เป็นปัญหา
    ใครรู้ด้านไหน ทำกิจด้านนั้น เว้นแต่ว่าคนจะเพ่ง
    ไล่ล่าจับผิด ในด้านที่คนๆ หนึ่งไม่ถนัดเพื่อเหยียบให้จม


    ซึ่งนั่นคงมีแต่วิสัยของ "ผู้ดีจอมปลอม" กระทำเท่านั้น
     
  16. poon-pan

    poon-pan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2,300
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +7,126
    วัตถุใดสสารใดที่มีอุณหภมิสูงกว่าศูณย์องศาสมบูรณ์จะมีการสั่นสะเทือนของโมเลกุล ทำให้ปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา ซึ่งอันนี้น่าจะเป็นแสงอย่างคุณ จขกท. ว่าไว้
    (เพราะว่าแสงก็เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นกัน)

    หมายเหตุ : มีที่มาจากหลักวิชาฟิสิกส์ครับ
     
  17. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829

    แสงที่ถูกปลดปล่อยออกมาดังกล่าว ก็อย่างหนึ่ง
    ส่วน "อนุภาคขนาดเล็กที่มีคุณสมบัติเช่นแสง"
    ก็อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นอนุภาคมูลฐานที่มีอยู่แล้ว
    ในสสารทุกชนิดด้วยครับ ดังนั้น ทุกอย่างก็เป็น
    เหมือนแสงในตัวมันเองอยู่แล้ว
     
  18. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    การมองเห็นของสัตว์ ขึ้นกับหลายเหตุปัจจัย


    สัตว์แต่ละชนิดมีอวัยวะรับสัมผัสในการมองเห็น
    แตกต่างกันในรายละเอียด เช่น ตาคน, ตาหมา
    ก็มีรายละเอียดที่รับรู้แสงต่างกัน หรือแม้แต่ตา
    แมลง ซึ่งประกอบด้วยตาย่อยๆ จำนวนมากมาย
    นอกจากนี้ "ระบบประสาทและสมองที่รับข้อมูล"
    จากดวงตา ก็มีผลต่อการมองเห็นของสัตว์ เช่น
    การที่ตาคนมีสองตา สมองต้องรับข้อมูลจากที่
    ลูกตาสองลูกส่งมาแล้วซ้อนทับเป็นภาพเดียวกัน
    (ไม่ใช่เป็นภาพสองภาพที่มาจากลูกตาทั้งสอง)
    นอกจากนี้ "ช่วงคลื่นแสง" ที่แตกต่างกันที่สัตว์
    สามารถรับได้ ก็ต่างกันอีกด้วย เช่น ยุง อาจรับ
    ช่วงคลื่นแสงอินฟาเรตได้ดี เพราะเป็นแสงที่เกิด
    จากอุณหภูมิร่างกายสัตว์เลือดอุ่น อาหารของยุง
    ซึ่ง ทั้งหมดนี้ มีทั้งแสงจากดวงอาทิตย์กระทบเข้า
    ดวงตา และแสงจากวัตถุนั้นๆ เองเปล่งออกมาเช่น
    แสงอินฟาเรต จากความร้อนในร่างกายมนุษย์ ฯลฯ
     
  19. poon-pan

    poon-pan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2,300
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +7,126
    เห็นด้วยอย่างที่สุดครับ

    และผมมีตัวอย่างเรื่องราวที่ผมได้อ่านมาจากหนังสือเกี่ยวกับสุขภาพเล่มนึง สิ่งที่ผมอ่านมาก็ไปสอดคล้องกับหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าในเรื่องการผิดศีลข้อที่ 3 กาเมฯ ผลของการผิดศีลข้อกาเมฯนี้จะทำให้ได้รับผลกรรมบางอย่างอาทิเช่น มักจะเป็นโรคเกี่ยวกับระบบสืบพันธ์ถ้าถึงขั้นรุนแรงอาจเป็นมะเร็งปากมดลูกสำหรับเพศหญิง มะเร็งต่อมลูกหมากสำหรับเพศชาย
     
  20. อู่หยาจื่อ

    อู่หยาจื่อ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    4,333
    ค่าพลัง:
    +3,829
    โฟตอน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->

    <!-- /jumpto --><!-- bodycontent -->โฟตอน หรือ อนุภาคของแสง เป็นการพิจารณาแสงในลักษณะของอนุภาค เนื่องจากในทางฟิสิกส์นั้น คลื่นสามารถประพฤติตัวเหมือนอนุภาคเมื่ออยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่ง ซึ่งในทางตรงกันข้ามอนุภาคก็แสดงสมบัติของคลื่นได้เช่นกัน เรียกว่าเป็นคุณสมบัติทวิภาคของคลื่น-อนุภาค (wave–particle duality) ดังนั้นเมื่อพิจารณาแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในลักษณะอนุภาค อนุภาคนั้นถูกเรียกว่า โฟตอน
    ทั้งนี้การพิจารณาดังกล่าวเกิดจากการศึกษาปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ซึ่งเป็นปรากฏกรณ์ที่โลหะปลดปล่อยอิเล็คตรอนออกมาเมื่อถูกฉายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อย่างเช่น รังสีเอ๊กซ์ (X-ray) อิเล็คตรอนที่ถูกปล่อยออกมาถูกเรียกว่า โฟโตอิเล็คตรอน (photoelectron) ปรากฏการณ์ดังกล่าวถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Hertz Effect ตามชื่อของผู้ค้นพบ คือ นาย เฮนริค รูดอล์ฟ เฮิร์ทซ์ (Heinrich Rudolf Hertz)
    โฟตอนมีปฏิอนุภาค คือ แอนติโฟตอน (Anti-Photon) ซึ่งมีสปินเหมือนอนุภาคต้นแบบทุกประการ โฟตอนจึงเป็นปฏิอนุภาคของตัวมันเอง


    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE style="WIDTH: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%" id=collapsibleTable0 class="nowraplinks collapsible show" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>[ซ่อน]
    </TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>อนุภาคมูลฐาน</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>เฟอร์มิออน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>ควาร์ก

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">u · d · c · s · t · b

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>เลปตอน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">e<SUP></SUP> · e<SUP>+</SUP> · μ<SUP></SUP> · μ<SUP>+</SUP> · τ<SUP></SUP> · τ<SUP>+</SUP> · νe · νμ · ντ · νe · νμ · ντ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>โบซอน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; WIDTH: 5em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>เกจ

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">γ · g · W<SUP>±</SUP> · Z

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>อื่นๆ

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; BACKGROUND: #f7f7f7; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">โกสต์

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>อนุภาคในสมมุติฐาน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>ซูเปอร์พาร์ทเนอร์

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>เกจิโน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">กลูอิโน · กราวิติโน

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>อื่นๆ

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">แอกซิโน · โบซิโน · ชาร์จิโน · ฮิกซิโน · นิวทรอลิโน · สเฟอมิออน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>อื่นๆ

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">A<SUP>0</SUP> · ไดลาตอน · G · H<SUP>0</SUP> · J · แทคีออน · X · Y · W' · Z' · สเตอไรล์นิวตริโน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>อนุภาคประกอบ</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>ฮาดรอน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; WIDTH: 5em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>แบริออน / ไฮเปอรอน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: auto; PADDING-RIGHT: 0px; BACKGROUND: #f7f7f7; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">N (p · n) · Δ · Λ · Σ · Ξ · Ω

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; WIDTH: 5em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>มีซอน / ควาร์โกเนียม

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: auto; PADDING-RIGHT: 0px; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">π · ρ · η · η′ · φ · ω · J/ψ · ϒ · θ · K · B · D · T

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>อื่นๆ

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">นิวเคลียสอะตอม · อะตอม · อะตอมประหลาด (โพสิโตรเนียม · มิวโอเนียม · โอเนียม) · โมเลกุล

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>สมมุติฐาน

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>ฮาดรอนประหลาด

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">
    <TABLE style="WIDTH: 100%" class="nowraplinks navbox-subgroup" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>แบริออนประหลาด

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">ไดแบริออน · เพนตาควาร์ก

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>มีซอนประหลาด

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">กลูบอล · เตตราควาร์ก

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="PADDING-LEFT: 0em; PADDING-RIGHT: 0em; WHITE-SPACE: nowrap; FONT-WEIGHT: normal" class=navbox-group>อื่นๆ

    </TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">โมเลกุลมีซอน · โพเมรอน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>กึ่งอนุภาค</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; BACKGROUND: #f7f7f7; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">เดวิดอฟ โซลิตอน · เอกซิตอน · แมกนอน · โฟนอน · พลาสมอน · โพลาริตอน · โพลารอน · โรตอน

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>รายชื่อ</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">รายชื่ออนุภาค · รายชื่อกึ่งอนุภาค · รายชื่อแบริออน · รายชื่อมีซอน · เส้นเวลาการค้นพบอนุภาค

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​

    http://th.wikipedia.org/wiki/โฟตอน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 กุมภาพันธ์ 2012

แชร์หน้านี้

Loading...