พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามพระนาคเสนว่าเหตุใดเจ้าชายสิทธัตถะต้องบำเพ็ญทุกรกริยา

ในห้อง 'หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ' ตั้งกระทู้โดย joni_buddhist, 7 ตุลาคม 2007.

  1. joni_buddhist

    joni_buddhist Legal returns ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2005
    โพสต์:
    13,555
    กระทู้เรื่องเด่น:
    203
    ค่าพลัง:
    +63,444
    [​IMG]
    [COLOR=darkgold,direction=-35);]ว่าด้วยการทรงทำทุกกรกิริยา [/color]




    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0>




    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]ข้าแต่พระนาคเสน พระโพธิสัตว์ทำทุกกรกริยาเหมือนกันทั้งหมดหรือ หรือว่าทำเฉพาะพระโคดมบรมโพธิสัตว์เท่านั้น ?" [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ไม่เหมือนกันหมด มหาบพิตร ทำเฉพาะพระโคดมบรมโพธิสัตว์เท่านั้น " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้าถ้าอย่างนั้นก็ไม่ถูกกับความต่างกันของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย" [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ขอถวายพระพรพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ย่อมต่างกัน ๔ อย่างคือ ต่างกันด้วยตระกูล ๑ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]เวลาสร้างบารมี ๑ พระชนมายุ ๑ ประมาณพระสรีรกาย ๑ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]แต่เมื่อได้ตรัสรู้แล้วพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ไม่ ต่างกันด้วยพระรูปลักษณะ ๑ ตบะ ๑ ศีล ๑ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial] สมาธิปัญญา ๑ วิมุตติ ๑ วิมุตติญาณทัสสนะ ๑ เวสารัชชธรรม ๔ ทศพลญาณ ๑๐ พุทธญาณ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๔ พุทธธรรม ๑๘ เป็นอันว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายเสมอกันด้วย "พุทธธรรม" [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ข้าแต่พระนาคเสน ถ้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเสมอกันด้วยพุทธธรรม คือธรรมของพระ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]พุทธเจ้าแล้ว เหตุใดจึงทำทุกกรกิริยาเฉพาะพระโคดมบรมโพธิสัตว์เท่านั้น ?" [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ขอถวายพระพร เพราะพระโคดมบรมโพธิสัตว์ ได้เสด็จออกทรงบรรพชาในเวลาที่พระ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]โพธิญาณยังไม่แก่กล้า จึงทรงทำทุกกรกิริยา เพื่อรอความแก่กล้าแห่งพระโพธิญาณ " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ข้าแต่พระนาคเสน ถ้าอย่างนั้น พระโคดมบรมโพธิสัตว์ก็ควรจะเสด็จออกบรรพชาใน [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]เวลาที่พระโพธิญาณแก่กล้า จึงจะสมควร " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ถูกแล้ว มหาบพิตร แต่ว่าพระโคดมบรมโพธิสัตว์ได้ทรงเห็นความวิปริตของพวกนางสนม จึงทรงเบื่อหน่าย เทวดาจำพวกมารจึงคิดว่า เวลานี้เป็นเวลาที่จะกำจัดความเบื่อหน่ายจึงได้ปรากฏตัวที่อากาศเปล่งวาจาขึ้นว่า [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ขอท่านอย่าวุ่นวายเลยอีก ๗ วันนับจากนี้ไป จักรแก้วอันเป็นทิพย์ ก็จะปรากฏขึ้นแก่ท่าน จักรแก้วนั้นมีกัมพันหนึ่ง พร้อมทั้งกงดุม เพลา พร้อมเสร็จ ท่านจักได้ทรงจักรแล้วไปได้ทั่วโลก จักมีอำนาจแผ่ไปทั่วโลกจักมีพระราชโอรสตั้งพัน ล้วนแต่เป็นผู้แกล้วกล้าสามารถย่ำยีข้าศึกทั้งปวง ท่านจักสมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ จักได้เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔ " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]พอพระโคดมบรมโพธิสัตว์ได้ฟังคำของมารอย่างนี้ ก็ยิ่งสลดใจมากขึ้น ร้อนพระทัยมากขึ้น เปรียบเหมือนบุรุษถูกแทงด้วยเหล็กแดงฉะนั้น หรือเปรียบเหมือนผู้ถูกไฟร้อน [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]อีกอย่างหนึ่ง แผ่นดินใหญ่นี้ ย่อมชุ่มอยู่ด้วยน้ำตามปกติ เวลาฝนห่าใหญ่ตกลงมาก็ยิ่งชุ่มหนักขึ้นฉันใด พระโพธิสัตว์เจ้าเบื่อหน่ายโลกอยู่ตามปกติแล้ว เมื่อได้ฟังถ้อยคำของมารนั้น ก็ยิ่งทรงเบื่อหน่ายมากขึ้นฉันนั้น " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ข้าแต่พระนาคเสน จักรแก้วจักเกิดขึ้นแก่พระโพธิสัตว์เจ้าในวันที่ ๗ ไม่ใช่หรือเหตุใดพระโพธิสัตว์จึงไม่กลับพระทัย รอจนให้จักรแก้วเกิดขึ้น ? " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ขอถวายพระพร ไม่ใช่ว่าจักรแก้วจะเกิดแก่พระโพธิสัตว์เจ้าในวันที่ ๗ นั้นจริงเป็นแต่มารกล่าวเท็จเพื่อเล้าโลมพระโพธิสัตว์เจ้าเท่านั้น ถึงจักรแก้วจะเกิดแก่พระโพธิสัตว์เจ้าจริง พระโพธิสัตว์เจ้าก็ไม่ยอมกลับพระทัย [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]ทั้งนี้เพราะอะไร..เพราะพระโพธิสัตว์เจ้ายึดมั่นแล้วว่าสิ่งทั้งปวงเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ปลงพระทัยลงสู่ความสิ้นอุปาทานแล้ว [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]น้ำที่ไหลไปมาจากสระอโนดาต ย่อมไหลไปสู่คงคานที แล้วน้ำในคงคานทีก็ไหลเข้าไปสู่มหาสมุทร น้ำในมหาสมุทรก็ไหลเข้าไปสู่ปากบาดาล น้ำที่ปากบาดาลจะไหลกลับมาสู่มหาสมุทร น้ำในมหาสมุทรจะไหลกลับไปสู่คงคานที น้ำในคงคานทีจะไหลกลับคืนไปสู่สระอโนดาตหรือไม่ ? " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ไม่ พระผู้เป็นเจ้า " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]"ข้อนี้ก็ฉันนั้นแหละ มหาบพิตร พระโพธิสัตว์เจ้าได้สร้างพระบารมีมาตลอด ๔ อสงไขยกับแสนกัปแล้ว ถึงชาติสุดท้ายแล้วจะกลับพระทัยเพราะเห็นแก่สมบัติอย่างนั้นจนให้พระโพธิญาณแก่กล้าถึง ๖ ปีจึงจะเสด็จออกบรรพชา เป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้านั้นไม่ได้ฉันนั้น [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" อาตมภาพขอถามว่า พระโพธิสัตว์เจ้าจะกลับพระทัย เพราะเหตุแห่งจักรแก้วได้หรือ ? " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ไม่ได้ พระผู้เป็นเจ้า " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ถึงพื้นปฐพีใหญ่จะล่มจมไป หรือภูเขาต่าง ๆทั้งสิ้นจะโค่นแม่น้ำใหญ่ทั้งปวงจะแห้งพระโพธิสัตว์เจ้ายังไม่สำเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นอันไม่กลับพระทัยเป็นอันขาด ถึงมหาสมุทรอันเป็นที่ขังน้ำเค็มหาประมาณมิได้จะแห้งขอดลงไปเหมือนกับน้ำในรอยโคก็ตามถึงน้ำในมหาคงคาจะไหลทวนกระแสขึ้นไปเบื่องบนก็ตาม [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]พระยาเขาสิเนรุจะแตกออกไปตั้งร้อยเสี่ยงพันเสี่ยงก็ตาม อากาศจะม้วนกลมเหมือนเสื่อลำแพนก็ตาม ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้งดวงดาว จะตกลงมาที่พื้นดินเหมือนก้อนดินก็ตามพระโพธิสัตว์ยังไม่สำเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณเป็นอันไม่กลับพระทัยเป็นอันขาด เพราะอะไร..เพราะพระบรมโพธิสัตว์เจ้า ได้ทำลายเครื่องผูกทั้งปวงแล้ว " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ข้าแต่พระนาคเสน เครื่องผูกในโลก มีอยู่เท่าใด ? " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ขอถวายพระพร มีอยู่ ๑๐ ประการ " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" คืออะไรบ้าง ? " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" เครื่องผูกในโลก ๑๐ ประการ  ได้แก่มารดาบิดา ภรรยา บุตร ญาติ มิตร ทรัพย์ ลาภสักการะ อิสริยยศ และกามคุณ ๕ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]สัตว์ทั้งหลายออกไปจากโลกไม่ได้เพราะเครื่องผูก ๑๐ประการนี้แหละ เครื่องผูก ๑๐ ประการนี้ พระโพธิสัตว์เจ้าได้ทำลายเสียสิ้นแล้ว เพราะฉะนั้น พระโพธิสัตว์เจ้าจึงไม่กลับพระทัย " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ข้าแต่พระนาคเสน เมื่อจิตเบื่อหน่ายเกิดขึ้น เมื่อญาณยังไม่แก่กล้า ถ้าพระโพธิสัตว์เจ้าเสด็จออกบรรพชา ตามคำของเทวดาที่เป็นมารนั้นแล้ว จะมีประโยชน์อันใด ด้วยการที่พระโพธิสัตว์เจ้าจะทรงทำทุกกรกิริยาพระโพธิสัตว์เจ้าควรรอให้พระญาณแก่กล้า ควรหักสิ่งทั้งปวงไม่ใช่หรือ ? " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ขอถวายพระพร มีบุคคลอยู่ ๑๐ จำพวก ที่มีผู้ดูหมิ่นดูแคลนเกลียดชังติเตียนครอบงำไม่ยำเกรง บุคคล ๑๐ จำพวกนั้น คือหญิงม้าย ๑ ผู้ทุพพลภาพ ๑ ผู้ไม่มีมิตรมีญาติ ๑ ผู้กินจุ ๑ผู้อยู่ในตะกูลอันไม่น่าเคารพ ๑ ผู้มีมิตรเลวทราม ๑ ผู้เสื่อมทรัพย์ ๑ ผู้เสียศีล ๑ ผู้เสียการงาน ๑ ผู้เสียการประกอบ ๑ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]เมื่อพระโพธิสัตว์เจ้าระลึกถึงบุคคลทั้ง ๑๐ จำพวกนี้ ก็ทรงนึกว่า เราไม่ควรเป็นผู้เสีย [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]การงาน เสียการประกอบ ให้เป็นที่ติเตียนของเทพยดามนุษย์ทั้งหลาย เราควรเป็นเจ้าของการงาน ควรเคารพการกระทำควรมีการกระทำเป็นใหญ่ มีการกระทำเป็นปกติ ทรงไว้ซึ่งการกระทำ อาศัยการกระทำไม่ปล่อยเครื่องผูก คือการกระทำ ควรเป็นผู้ไม่ประมาท ด้วยเหตุนี้ พระโพธิสัตว์เจ้าจึงได้ทรงทำทุกกรกิริยา เพื่อรอความแก่กล้าแห่งญาณ " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]พระเจ้ามิลินท์ตรัสอีกว่า [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ข้าแต่พระนาคเสน พระโพธิสัตว์ผู้ทำทุกกรกิริยาได้กล่าวไว้ว่า เราไม่ได้สำเร็จความรู้ความเห็นวิเศษอันเป็นของอริยะ อันยิ่งกว่าธรรมดาของมนุษย์ได้ ด้วยทุกกรกิริยาอันเผ็ดร้อนนี้ ทางอื่นที่จะให้ตรัสรู้ได้จักต้องมี [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]ก็ในคราวนั้น ความเผลอสติได้มีแก่พระโพธิสัตว์เจ้าเพราะแรงปรารถทางบ้างหรือไม่ ?" [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]พระนาคเสนชี้แจงว่า [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ขอถวายพระพร สิ่งที่จะทำให้จิตเสียกำลังใจ ไม่ทำให้จิตตั้งมั่นดี เพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย มีอยู่ ๒๕ ประการ คือ [/FONT]


    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]<CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]สิ่งที่ทำให้เสียกำลังใจ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]</CENTER>[/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑. ความโกรธ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๒. ความผูกโกรธ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๓. ความลบลู่บุญคุณของผู้อื่น [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๔. ความตีเสมอกับผู้อื่น [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๕. ความริษยาไม่ยินดีต่อความดีของผู้อื่น [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๖. ความตระหนี่เหนียวแน่น [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๗. ความมีเลห์เหลี่ยมหลอกลวง [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๘. ความโอ้อวด [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๙. ความดื้อดึง [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๐. ความแข่งดี [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๑. ความถือตัว [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๒. ความดูหมิ่นผู้อื่น [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๓. ความมัวเมา [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๔. ความเมาใหญ่ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๕. ความง่วงเหงา [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๖. ความเพลิดเพลิน [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๗. ความเกียจคร้าน [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๘. ความคบมิตรลามก [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๑๙. รูปของคนและสัตว์สิ่งของ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๒๐. เสียงของคนสัตว์สิ่งของ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๒๑. กลิ่นของคนสัตว์สิ่งของ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๒๒. รสของคนสัตว์สิ่งของ [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๒๓. สิ่งที่ถูกต้องทางกาย [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๒๔. ความหิวกระหาย [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]๒๕. ความไม่ยินดีในทางดี [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]พระโพธิสัตว์เจ้า ได้ครอบงำกายด้วยความหิวกระหาย คือปล่อยให้ความหิวกระหายครอบงำกาย เมื่อความหิวกระหายครอบงำกายแล้ว จิตก็ไม่ตั้งมั่นดีเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]พระโพธิสัตว์เจ้าได้แสวงหาการสำเร็จอริยสัจ ๔ อยู่ตลอด ๔ อสงไขยกับอีกแสนกัปแล้ว ในภพสุดท้ายจักมีความเผลอสติเพราะปรารภทางได้อย่างไร เป็นแต่พระโพธิสัตว์นึกขึ้นมาว่า ทางตรัสรู้ทางอื่นจะมีหรืออย่างไร [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]เมื่อพระโพธิสัตว์ประสูตรแล้วได้ ๑ เดือนได้ทรงนั่งสมาธิอยู่ ณ ที่บรรทมภายใต้ต้นหว้าอันมีเงาร่มเย็นนั้น ในเวลาที่พระราชบิดาทรงแรกนาขวัญ ก็ยังได้สำเร็จฌาน ๔ ขอถวายพระพร " [/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]" ถูกต้องดีแล้ว พระนาคเสน โยมรับว่าเมื่อพระโพธิสัตว์เจ้าจะทรงรอให้ฌาณแก่กล้าจึงได้ทำทุกกรกิริยา "
    [​IMG] [/FONT]​







    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]

    <TBODY></TBODY>[/FONT]








    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]
    </TABLE>[/FONT]


    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial]ที่มา http://larnbuddhism.net/milintapanha/milin08_index.html[/FONT]
    [FONT=Ms Sans Serif, Geneva, Helvetica, Arial][/color][/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ตุลาคม 2007

แชร์หน้านี้

Loading...