5 Things for Survival (5 สิ่งที่ควรต้องมีในเป้ยังชีพ)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย karan20, 9 เมษายน 2011.

  1. karan20

    karan20 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,297
    ค่าพลัง:
    +2,379
    5 สิ่งที่ควรต้องมีในเป้ยังชีพ Survival Bag

    อันนี้เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน
    หากผิดพลาดต้องขออภัย....ขอให้ผู้รู้ช่วยชี้แนะ

    เคยนำเสนอเรื่อง คลิกที่นี่...สารคดี 2011 : 100 วันแห่งความหายนะ

    คลิกที่นี่...สติและการตัดสินใจแก้ปัญหาในยามเกิดภัยพิบัติ

    [/COLOR]คลิกที่นี่...การเตรียม 'ใจ' รับภัยพิบัติ (ในวัฏฏะอันน่าสงสาร)

    คลิกที่นี่...ทำไมผู้รอดจากภัยพิบัติจึงเรียกว่าเป็นผู้มีความดี

    คลิกที่นี่...ปากกาตรวจสอบกระแสไฟฟ้ารั่วในบริเวณที่น้ำท่วม
    [/SIZE]

    คลิกที่นี่...มาม่าเกลี้ยง น้ำดื่มขาด มีเงินก็ซื้อไม่ได้ยามเกิดภัยพิบัติ

    คลิกที่นี่...ภัยพิบัติกับคนดีชื่อ 'ตัน' และพระโสดาบันชื่อ 'อนาถบิณฑิกะ'

    คลิกที่นี่...รอดพ้นภัยพิบัติ "เร่งลัดบรรลุโสดาบัน" หลักสูตร 30 ชั่วโมง


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 ตุลาคม 2011
  2. karan20

    karan20 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,297
    ค่าพลัง:
    +2,379
    <table><tbody><tr><td colspan="2">เสื้อชูชีพอัดอากาศ

    </td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top" width="33%">
    </td> <td valign="top">
    </td> </tr> <tr> <td rowspan="1" colspan="2"><hr> <table border="0"><tbody> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพของ US Coast Guard



    • ขนาดกะทัดรัด น้ำหนักเบา และให้ความสบายในการสวมใส่ เป็นการรวมกันของเสื้อชูชีพธรรมดา และเสื้อชูชีพแบบอัดอากาศ เพื่อใช้สำหรับลูกเรือ และหน่วยลาดตระเวนเรือประมง
    • ใช้งานได้ดี และให้ความสบาย เมื่อเทียบกับเสื้อชูชีพในประเภท 3 ในแบบเดียวกัน
    • สามารถใส่คลุม เสื้อเกราะกันกระสุน และอุปกรณ์ยังชีพอื่นๆ
    • เหมาะสำหรับลูกเรือ เพื่อการใช้งานเอนกประสงค์ รวมถึงการปฏิบัติการ ค้นหาและช่วยชีวิต , เจ้าหน้าที่ตำรวจ , เจ้าหน้าที่อนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเล
    • ระบบการลอยตัว สามารถใช้ได้ทั้งแบบเป่าลม และพองลมอัตโนมัติ ซึ่งจะพองตัวได้ทันที เมื่อผู้สวมใส่อยู่ในน้ำ ไม่พองตัวหากเปียกฝน
    • ควบคุมการพองตัวได้เอง ด้วยการดึงสายคล้องลูกปัด เสื้อจะพองตัวขึ้นทันที หรือโดยการเป่าลมเข้าท่อลม ให้เสื้อพองตัว
    • ระบบพองตัวอัตโนมัติ ถูกบรรจุอยู่ในซองไนลอน อย่างหนากันการสึกหรอ หรือการเจาะให้ลมออก
    • เมื่อเสื้อพองตัว ตัวเสื้อจะพลิกให้ผู้สวมใส่ อยู่ในท่าเชิดหน้าขึ้น ด้วยอัตราการลอยตัวประมาณ 35 ปอนด์
    • การออกแบบซองบรรจุ ทำให้สามารถปล่อยลมออก และพับเก็บโดยม้วนเข้าข้างใต้ และกดล็อคให้เข้าที่ได้ง่ายดาย
    • มีกระเป๋าเอนกประสงค์ 2 ข้าง ขนาด 5" x 4.5" x 1.75" เพื่อเก็บอุปกรณ์ยังชีพ หรือของเบ็ดเตล็ด
    • กระเป๋าออกแบบให้ไม่เกะกะ และช่วยในการกระจายน้ำหนักได้อย่างสมดุล
    • ซิปด้านหน้า เพิ่มการล็อคด้วยหัวล็อคขนาด 1.5 นิ้ว บริเวณช่วงเอว เพื่อความปลอดภัย และการสวมใส่ที่มั่นคง
    • ช่วงเอวปรับขนาดได้ โดยมีอุปกรณ์ปลดเร็วทั้ง 2 ด้าน
    • มีกระบอก CO2 และอุปกรณ์ปล่อยอากาศเข้าเสื้อ
    • ได้มาตรฐานของหน่วยคุ้มกันชายฝั่ง สหรัฐอเมริกา USCG สำหรับเสื้อชูชีพ LPSV
    • แถบสะท้อนแสงได้มาตรฐาน SOLAS ซึ่งกำหนดมาตรฐานอุปกรณ์ สำหรับการกู้ภัยทางน้ำ
    • แถบตีนตุ๊กแก ด้านข้างและตาไก่ ใช้เป็นที่ยึดไฟสโตรป และอุปกรณ์ไฟฉุกเฉินส่วนบุคคล (PML)
    • มีสัญลักษณ์หน่วยคุ้มกันชายฝั่ง สหรัฐอเมริกา USCG และตราสัญลักษณ์หน่วย อยู่ด้านหน้า และ ตัวอักษร U.S. COAST GUARD อยู่ด้านหลังของตัวเสื้อ
    • มีห่วงรูปตัว D สำหรับคล้องสายปลดสวิทซ์เรือ หรือกุญแจ ฯ
    • มีกระเป๋าเก็บเชือก เพื่อใช้สำหรับเกาะกลุ่มรวมกัน
    • ขนาด : ฟรีไซส์ สำหรับเอวขนาด 30 - 48 นิ้ว
    • สี : ส้ม

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพโปรเวสต์ Pro Vest



    • ขนาดกะทัดรัด น้ำหนักเบา และให้ความสบายในการสวมใส่ เป็นการรวมกันของเสื้อชูชีพแบบธรรมดา และเสื้อชูชีพแบบอัดอากาศ เพื่อใช้สำหรับลูกเรือ และนักบินมืออาชีพ
    • ใช้การดึงเพียงครั้งเดียว ก็สามารถผลักถุงลมทั้งสองข้างของเสื้อ พองตัวขึ้นพร้อมกัน
    • ด้วยการออกแบบถุงลมของ LSC โดยมีท่อลมเสริม เป็นระบบสำรอง ในกรณีที่ถุงลมข้างหนึ่ง ไม่สามารถพองตัวได้ หรืออาจเกิดรอยรั่ว จากการถูกของมีคม ผู้สวมใส่สามารถ เป่าลมเสริมเข้าแทนที่ ทำให้ตัวเสื้อมีความสมดุล ไม่เพียงแค่เหลือถุงลม เพียงข้างเดียวเท่านั้น แต่ยังสามารถ เป่าลมให้เสื้อพองตัวขึ้นได้ เท่ากับช่องว่างของลม ที่สูญเสียไปจากรอยรั่วเดิมอีกด้วย
    • ปัจจุบันเสื้อชูชีพโปรเวสต์นี้ เป็นเสื้อชูชีพ ที่ใช้งานโดย หน่วยคุ้มกันชายฝั่ง ของสหรัฐอเมริกา US Coast Guard
    • เมื่อเสื้อพองตัว ตัวเสื้อจะพลิกให้ผู้สวมใส่เชิดหน้าขึ้น ด้วยความสามารถ ในการลอยน้ำประมาณ 35 ปอนด์ ซึ่งแต่เดิมเป็นคุณสมบัติการลอยตัว ของเสื้อชูชีพแบบโฟมธรรมดาเท่านั้น
    • แต่ละข้างของถุงลม ทำด้วยวัสดุไนลอนอย่างหนา กันการสึกหรอ และขาดรั่ว
    • ด้วยการออกแบบ ทำให้ง่ายในการตรวจสภาพ, ทดสอบ และพับเก็บเข้าที่
    • ขนาดฟรีไซส์ ผลิตจากผ้าตาข่ายไนลอน เพื่อความสบายและน้ำหนักที่ เบากว่า 2 ปอนด์
    • ช่วงเอวปรับขนาดได้ 30 - 48 นิ้ว ล็อคด้วยหัวล็อค Delrin® บริเวณช่วงเอวทั้ง 2 ข้าง เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ในการสวมใส่ที่มั่นคง
    • อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทุกชิ้น ทนต่อการสึกหรอ และตัวเสื้อมีกระเป๋าไนลอน เก็บอุปกรณ์ต่างๆ ทั้ง 2 ข้าง และยังช่วยป้องกันการสึกหรอได้อีกด้วย
    • กระเป่าด้านขวาขนาด 8" x 6" x 1.75" มีช่องแยกเก็บวิทยุ และอุปกรณ์ยังชีพอื่นๆ กระเป๋าด้านซ้าย ขนาด 8.5" x 5" x 2" สำหรับเก็บกระบอกออกซิเจน HEED III สำหรับช่วยหายใจในกรณีฉุกเฉิน
    • กระเป๋าออกแบบให้ไม่เกะกะ และช่วยในการกระจายน้ำหนักได้อย่างสมดุล
    • เสื้อชูชีพ Pro Vest มาพร้อมกับ กระบอกออกซิเจนขนาด 16 กรัม 2 อัน
    • ขนาด : ฟรีไซส์ สำหรับเอวขนาด 30 - 48 นิ้ว
    • สี : ส้ม , ดำ

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพชนิดเบาพิเศษ โปรไลท์
    Pro Lite Vest




    • น้ำหนักเบาเป็นพิเศษ เพิ่มความสบายในการสวมใส่
    • พองตัวด้วยกระบอกลม CO2 โดยการดึงสายคล้องลูกปัดด้านล่างอย่างเร็วและแรงพอควร
    • ตัวเสื้อยังสามารถพองตัวได้ โดยการเป่าลมเข้าทางท่อลม และมีความสามารถในการลอยตัวตามมาตรฐาน SOLAS ซึ่งกำหนดมาตรฐานอุปกรณ์ สำหรับการกู้ภัยทางน้ำ ที่ 35 ปอนด์
    • ความสามารถในการลอยตัว 35 ปอนด์นี้ ถือเป็น 1.5 เท่าของเสื้อชูชีพประเภท 1 ประเภทเสื้อชูชีพสำหรับงานกลางทะเล (US Offshore Device) และมากกว่า 2 เท่าของเสื้อชูชีพประเภท 3 สำหรับอุปกรณ์ช่วยลอยในน้ำ (Flotation Aid)
    • ถุงลมของ เสื้อชูชีพ Pro-Lite ทำจากไนลอนเคลือบโพลียูเรเทน 210 ดีเนียร์ แข็งแรงทนทาน และง่ายต่อการดูแลรักษา
    • เมื่อพองตัว ถุงลมด้านในสีส้มจะเผยให้เห็นแถบสะท้อนแสง ที่ได้มาตรฐาน SOLAS และมีนกหวีดรวมอยู่ด้วย
    • แต่ละข้างของถุงลม หุ้มด้วยวัสดุไนลอนอย่างหนา กันการสึกหรอ และขาดรั่ว
    • มาพร้อมกับกระบอกออกซิเจนขนาด 33 กรัม 1 อัน
    • ขนาด : ฟรีไซส์ สำหรับเอวขนาด 30 - 48 นิ้ว
    • ล็อคด้วยหัวล็อค Delrin® บริเวณช่วงเอวทั้ง 2 ข้าง เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ในการสวมใส่ที่มั่นคง
    • หัวล็อคปลดเร็วด้านหน้า
    • แถบเชือกโพลีโพรพรีลีนสีดำขนาด 1.5 นิ้ว ลอยน้ำได้
    • สี : ส้ม , ดำ

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพชนิดเบาพิเศษ แบบพองตัวอัตโนมัติ โปรไลท์ ของ USCG



    • ออกแบบโดยปรับปรุงจาก เสื้อชูชีพชนิดเบาพิเศษ โปรไลท์
    • - เป็นเสื้อชูชีพชนิดเบาพิเศษ ของเจ้าหน้าที่ประจำเรือ และเจ้าหน้าที่ ลาดตระเวนเรือประมง ของหน่วยคุ้มกันชายฝั่ง สหรัฐอเมริกา USCG
    • เสื้อรุ่นใหม่นี้ ทำจากวัสดุคุณภาพสูง และโครงสร้างแบบเดียวกับมาตรฐานของ เสื้อชูชีพชนิดเบาพิเศษ โปรไลท์ และยังเพิ่มด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ :
      • ระบบการลอยตัว สามารถใช้ได้ทั้งแบบเป่าลม และพองลมอัตโนมัติ ซึ่งจะพองตัวได้ทันทีเมื่อผู้สวมใส่อยู่ในน้ำ และควบคุมการพองตัวได้ด้วยการดึงสายคล้องลูกปัดด้านล่าง
      • สายรัดตัวที่พัฒนาขึ้นใหม่ ช่วยคล้องรอบตัวผู้สวมใส่ไปถึงด้านหลัง อย่างมั่นคงปลอดภัย
      • มีสัญลักษณ์หน่วยคุ้มกันชายฝั่ง สหรัฐอเมริกา USCG และตราสัญลักษณ์หน่วย อยู่บริเวณช่วงอกด้านหน้า
      • มีตัวอักษร U.S. COAST GUARD อยู่ด้านหลังของตัวเสื้อ
      • แถบสะท้อนแสงซึ่งได้มาตรฐาน SOLAS ซึ่งกำหนดมาตรฐานอุปกรณ์ สำหรับการกู้ภัยทางน้ำ ไว้บนช่องเก็บอุปกรณ์และบริเวณถุงลมทั้ง 2 ด้าน
      • มีห่วงแสตนเลสรูปตัว D บริเวณชายเสื้อ
      • มีกระเป๋าเก็บเชือก เพื่อใช้สำหรับเกาะกลุ่มรวมกัน
      • ขนาด : ฟรีไซส์ สำหรับเอวขนาด 30 - 48 นิ้ว
      • สี : ส้ม , ดำ

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพสำหรับ นักว่ายน้ำช่วยชีวิต
    Inflatable Rescue Swimmer Vest




    • ออกแบบตามมาตรฐานความต้องการของ นักว่ายน้ำช่วยชีวิตประจำหน่วยคุ้มกันชายฝั่ง สหรัฐอเมริกา USCG ในการกู้ภัยระดับผิวน้ำ Swift water Rescue
    • เป็นการผสมผสานคุณสมบัติที่ดีที่สุด ของสายรัดตัวสำหรับนักว่ายน้ำ และเสื้อชูชีพเอาไว้รวมกัน
    • สายรัดตัวหรือฮาร์เนส ทำจากแถบเชือก Type 8 และ Type 13 ซึ่งตรงตามมาตรฐาน แถบเชือกที่ใช้สำหรับยุทธภัณฑ์ทางทหาร MIL-SPEC webbing มั่นใจได้ในความแข็งแรงทนทาน
    • อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ทำด้วยแสตนเลส 304 หรือ 316 , ซิปและขอเกี่ยว ทำจากพลาสติกคุณภาพสูง กันการสึกหรอ
    • ตัวฮาร์เนสหรือสายรัดตัว มีห่วงปลดเร็ว ซึ่งช่วยให้นักว่ายน้ำ สามารถปลดสายรัดสำรอง ออกได้ง่ายดายเมื่อต้องการ
    • ดึงสายคล้องลูกปัดเพียงครั้งเดียว เพื่อดึงให้ห่วงแสตนเลสเปิดออก ช่วยในการปลดสายรัดสำรอง ในกรณีที่สายรัด ติดหรือเกี่ยวเข้ากับวัตถุใต้น้ำ
    • สวมใส่ได้คล่องตัว และรวดเร็วด้วยการออกแบบซิปด้านหน้า และการล็อคของห่วงปลดเร็ว
    • ช่วงเอวปรับขนาดได้ 30 - 48 นิ้ว ปรับขนาดด้วย หัวล็อคแสตนเลส บริเวณช่วงเอวทั้ง 2 ข้าง เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ในการสวมใส่ที่มั่นคง
    • ระบบลอยตัว ถูกหุ้มด้วยวัสดุไนลอนอย่างหนา กันการสึกหรอ และขาดรั่ว
    • ด้วยการออกแบบช่องเก็บ ทำให้ไม่จำเป็นต้องม้วนเก็บ เพียงแต่เอาลมออกก็สามารถ ใช้งานได้ใหม่อีกครั้ง
    • ตัวเสื้อสามารถควบคุมการพองตัวได้ ด้วยกระบอกลม CO2 หรือโดยการเป่าลมเข้าท่อลม ซึ่งจะให้ความสามารถ ในการลอยตัวที่ 35 ปอนด์
    • มีแถบสะท้อนแสง ซึ่งได้มาตรฐาน SOLAS ซึ่งกำหนดมาตรฐานอุปกรณ์ สำหรับการกู้ภัยทางน้ำ พร้อมกระเป๋าเก็บอุปกรณ์ ด้านหน้าทั้ง 2 ข้างขนาด 5.5" x 4" x 1.5" และมีดนิรภัย
    • มาพร้อมกับกระบอกออกซิเจน ขนาด 33 กรัม 1 อัน
    • ผ่านการรับรองจากนักว่ายน้ำช่วยชีวิต ประจำหน่วยคุ้มกันชายฝั่ง สหรัฐอเมริกา US Coast Guard Surface Swimmers

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพค้นหาและช่วยชีวิต ประจำกองทัพเรือสหรัฐ
    US Navy Inflatable SAR Vest




    • ด้วยขนาดที่กะทัดรัด น้ำหนักเบา และเป็นเสื้อชูชีพ สำหรับนักว่ายน้ำช่วยชีวิต แบบสวมศีรษะในการใช้งาน
    • ให้อัตราการลอยตัวได้ดี เท่ากับเสื้อชูชีพประเภท 1 สำหรับการใช้งานกลางทะเล
    • เมื่อพองตัว เสื้อจะช่วยให้ผู้สวมใส่ อยู่ในท่าเชิดหน้าขึ้น ด้วยอัตราการลอยตัว 35 ปอนด์
    • เสื้อจะพองตัวด้วยการดึงกระบอกลม CO2 หรือ หรือโดยการเป่าลมเข้าท่อลม
    • ตัวเสื้อทำด้วยไนลอนหนาขนาด 420 ดีเนียร์ สำหรับใช้งานแบบสวมใส่ได้ยาวนาน และมีถุงลมที่สามารถถอดเปลี่ยนได้
    • เสื้อชูชีพนี้ปรับปรุงจากคุณลักษณะ ของเสื้อชูชีพสำหรับนักว่ายน้ำช่วยชีวิต แบบล่าสุดที่ใช้ในกองทัพเรือสหรัฐ US Navy LPU-28A/P รวมถึงข้อกำหนด PRC-125 อีกด้วย
    • มาพร้อมกับกระบอกออกซิเจนขนาด 33 กรัม 1 อัน
    • ผ่านการรับรองจากกองทัพเรือสหรัฐ ให้ใช้สำหรับนักว่ายน้ำช่วยชีวิตของกองทัพเรือทุกนาย

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เข็มขัดชูชีพ ของ Stearns
    Stearns Inflata-Belt




    • เป็นอุปกรณ์ช่วยลอยตัว ที่ช่วยให้การเคลื่อนไหว ที่เป็นอิสระอย่างแท้จริง
    • สวมใส่สบายบริเวณรอบเอว เช่นเดียวกับเข็มขัดทั่วไป
    • ระบบการพองตัวมีให้เลือก ทั้งแบบควบคุมโดยผู้สวมใส่ หรือระบบลอยตัวอัตโนมัติ เมื่อผู้สวมใส่อยู่ในน้ำ
    • อัตราการลอยตัวในน้ำต่ำสุด 33.7 ปอนด์
    • มาพร้อมกับกระบอกออกซิเจน ขนาด 33 กรัม 1 อัน
    • ผ่านการรับรองจาก หน่วยคุ้มกันชายฝั่งสหรัฐอเมริกา ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยลอยตัวประเภท 5
    • สี : น้ำเงิน

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพชนิดเบาพิเศษ ของ Stearns
    Stearns Ultra Inflatables




    • เป็นเสื้อชูชีพทางน้ำคุณภาพสูง
    • ออกแบบเพื่อความสบายของผู้สวมใส่ และการเคลื่อนไหวที่เป็นอิสระ
    • มีแถบสะท้อนแสงเมื่อเสื้อพองตัวออก
    • ม้วนพับ 3 ครั้ง เพื่อการจัดเก็บที่ง่ายและรวดเร็ว
    • ระบบการพองตัวมีให้เลือก ทั้งแบบควบคุมโดยผู้สวมใส่ หรือระบบลอยตัวอัตโนมัติ เมื่อผู้สวมใส่อยู่ในน้ำ
    • มาพร้อมกับกระบอกออกซิเจน
    • ผ่านการรับรองจาก หน่วยคุ้มกันชายฝั่งสหรัฐอเมริกา ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยลอยตัวประเภท 3 ซึ่งมีกระบอกลม CO2 และท่อเป่าลมรวมอยู่ด้วย
    • ผ่านการรับรองจาก หน่วยคุ้มกันชายฝั่งสหรัฐอเมริกา ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยลอยตัวประเภท 5 ซึ่งสามารถใช้ระบบพองลม แบบใช้กระบอกลม CO2 และท่อเป่าลมทั้ง 2 ระบบ
    • อัตราการลอยตัวในน้ำต่ำสุด 33.7 ปอนด์ เมื่อตัวเสื้อพองตัวสูงสุด
    • สี : ส้ม , น้ำเงินสด

    </td></tr> <tr><td colspan="2"><hr>
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    เสื้อชูชีพสำหรับอาสาสมัคร หน่วยคุ้มกันชายฝั่งสหรัฐอเมริกา
    Stearns USCG Auziliary Inflatable




    • น้ำหนักเบา และสวมใส่สบาย ซึ่งปรับปรุงให้ผู้สวมใส่ สามารถเคลื่อนไหวได้ง่ายดาย และระบายอากาศได้ดี
    • เสื้อชูชีพนี้ มีกระเป๋าซิปใส่อุปกรณ์ที่สามารถถอดออกได้
    • ระบบการพองตัว แบบควบคุมโดยผู้สวมใส่ และระบบพองตัวอัตโนมัติ รุ่น Secumar 3001 inflator ช่วยให้วางใจได้เมื่อผู้สวมใส่อยู่ในน้ำ
    • ระบบพองตัวแบบควบคุมได้เอง ทำโดยการดึงสายคล้องลูกปัด หรือเป่าลมเข้าท่อลม
    • มาพร้อมกับแถบสะท้อนแสง , นกหวีด และกระบอกลม CO2
    • อัตราการลอยตัวในน้ำต่ำสุด 35 ปอนด์ เมื่อตัวเสื้อพองตัวสูงสุด
    • ผ่านการรับรองจาก หน่วยคุ้มกันชายฝั่งสหรัฐอเมริกาให้เป็นอุปกรณ์ช่วยลอยตัวประเภท 5
    • ตัวเสื้อสีส้ม พร้อมกับสัญลักษณ์อาสาสมัคร หน่วยคุ้มกันชายฝั่ง สหรัฐอเมริกา
    • ถุงลมที่ใช้พองตัวจะมีสีเหลือง



    ข้อมูลจาก http://www.seaairthai.com/component...oduct_id,116/option,com_virtuemart/Itemid,34/


    ติดต่อขอทราบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ info@seaairthai.com<noscript> This email address is being protected from spam bots, you need Javascript enabled to view it </noscript>​
    โทร: 0-8-7900-0783 โทรสาร: 02-509-3246

    </td></tr> </tbody></table> </td></tr></tbody></table>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 เมษายน 2011
  3. karan20

    karan20 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,297
    ค่าพลัง:
    +2,379
    คู่มือการเลือกเสื้อชูชีพ และอุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว

    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Personal Flotation Devices
    อุปกรณ์ช่วยในการลอยน้ำ สำหรับบุคคล </td></tr></tbody></table>
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Personal Flotation Devices, also known as PFDs or Life Vest, are important life saving devices. The main function of a PFD is to keep a person on the water's surface in a relatively upright position to allow the person to breathe and not have to spend energy to stay afloat. PFDs come in many different styles and shapes depending on their expected use. Using the wrong style of PFD can be not only uncomfortable but also dangerous. It is important to know the advantages and disadvantages of different styles so the correct PFD can be chosen. </td> <td> อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว เป็นที่รู้จักในชื่อ PFDs หรือ เสื้อชูชีพ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำคัญ ในการช่วยชีวิต หน้าที่หลักของ PFD คือ ให้ผู้สวมใส่ ลอยอยู่ระดับผิวน้ำ ในลักษณะตั้งตรง ให้สามารถหายใจได้ โดยไม่ต้องใช้แรงในการพยายาม ทำให้ตัวลอย ซึ่งอุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว มีมากมายหลายลักษณะ และรูปร่าง ขึ้นอยู่กับ ความต้องการใช้งาน หากใช้งาน PFD ผิดประเภท ไม่เพียงแต่จะทำให้ รู้สึกไม่สบายเท่านั้น แต่ยังก่อให้เกิดอันตราย ตามมาอีกด้วย จึงเป็นเรื่องสำคัญ ในการเรียนรู้ถึงอันตราย และข้อดีข้อเสีย ของอุปกรณ์ ประเภทต่างๆ เพื่อเลือกใช้งาน ได้อย่างถูกต้องปลอดภัย </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Buoyancy
    อัตราการลอยตัว </td></tr></tbody></table>
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Buoyancy is the ability to float. Buoyancy is created by the displacement of a liquid, or gas. If the weight of the displaced liquid is heavier than the object displacing it, the object will float. If the weight of the liquid displaced is lighter than the object displacing it, the object will sink. This is why a metal ship can float on water. The mass, or space taken up, of the ship in the water is less than the weight of the water it is replacing. </td> <td> อัตราการลอยตัว คือ ความสามารถ ในการลอยตัว ซึ่งเกิดขึ้น โดยการแทนที่ ของของเหลว หรือก๊าซ เมื่อวางมวลของวัตถุลงในน้ำ ถ้าน้ำหนักของน้ำ ที่ไหลออก หนักกว่าน้ำหนัก ของวัตถุดังกล่าว วัตถุนั้น ก็จะลอยน้ำ แต่ถ้าน้ำหนัก ของน้ำที่ไหลออก เบากว่าน้ำหนัก ของวัตถุดังกล่าว วัตถุนั้นก็จะจมน้ำ จึงอธิบายได้ว่า ทำไมเรือที่ทำด้วยโลหะ จึงลอยน้ำได้ เนื่องจากมวล หรือพื้นที่ของเรือในน้ำ รวมทั้งอากาศ มีน้ำหนักน้อยกว่า เมื่อเทียบกับน้ำหนักของน้ำ ที่เข้าไปแทนที่มวล ทั้งหมดของเรือนั้น </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> The human body is almost neutrally bouyant. Since the human body is composed mostly of water. This can be influenced by the ammount of air in a persons lungs. Breathing in will make a person raise in the water and breathing out will make them sink. </td> <td> ร่างกายมนุษย์ก็เช่นกัน โดยปกติจะลอยน้ำ เนื่องจากร่างกาย ประกอบไปด้วยน้ำ เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจมีอิทธิพลจาก จำนวนอากาศในปอด เข้ามาเกี่ยวข้อง การหายใจเข้าปอด จะทำให้ตัวลอยขึ้น และหากเราหายใจออก ก็จะจมน้ำ </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> If a person is wearing clothes or other heavy items, this will cause a person to sink in the water. To cause a person to float, something that it more bouyant than water must be used. This is done through the use of a PFD. PFD's are tested and given a buoyancy rating in pounds. This rating is the additional buoyancy the PFD will add to a person who is in water. If a person is wearing a PFD with a 22 lb rating and is carrying a 22 lb piece of solid metal, the PFD will still allow the person to float on the surface of the water. If additional weight is added, the person will start to sink. </td> <td> ซึ่งหากสวมเสื้อ หรือวัตถุหนักๆ ก็จะทำให้จมน้ำได้ หากต้องการให้ คนคนนั้นลอยขึ้น จะต้องหาสิ่งที่ เบากว่าน้ำ เข้ามาช่วย ซึ่งทำได้โดยการ ใช้เสื้อชูชีพ ซึ่งการทดสอบ และให้อัตราการลอยตัว จะใช้หน่วยเป็นปอนด์ อัตราดังกล่าว ที่ระบุไว้บนเสื้อชูชีพ จะเป็นการเพิ่ม อัตราการลอยตัว ให้กับบุคคล ซึ่งกำลังอยู่ในน้ำ หากคนคนนั้น สวมเสื้อชูชีพ ที่มีความสามารถ ในการลอยตัวที่ 22 ปอนด์ และยังต้องแบกรับ น้ำหนักของแท่งเหล็ก ขนาด 22 ปอนด์ไว้ด้วย เสื้อชูชีพจะยังคง ช่วยให้บุคคลผู้นั้น ลอยอยู่บนผิวน้ำได้ แต่หากเพิ่มน้ำหนัก เข้าไปมากกว่า 22 ปอนด์ คนคนนั้น ก็จะเริ่มจมน้ำ </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> In calm water, such as a swimming pool, a few pounds of buoyancy is enough to keep someone on the surface but in rough water, such as the ocean, more buoyancy is needed to keep the person floating higher above the waves. If the person is wearing bulky clothing or heavy equipment, even more buoyancy is needed to keep them floating. </td> <td> ในน้ำนิ่งๆ เช่น ในสระว่ายน้ำ อัตราการลอยตัวไม่กี่ปอนด์ ก็เพียงพอที่จะทำให้ คนคนหนึ่งลอยตัวได้ แต่หากอยู่ในน้ำเชี่ยว เช่น น้ำทะเล หรือ ในน้ำไหล ก็ควรจะใช้ อัตราการลอยตัว ที่มากขึ้น เพื่อให้สามารถ ลอยตัวได้สูง เหนือคลื่นในทะเล หรือให้เสื้อช่วยให้ หน้าเชิดขึ้นเพื่อหายใจได้ หากคนคนนั้น เป็นเจ้าหน้าที่กู้ภัย ที่สวมเสื้อ หรืออุปกรณ์หนักเทอะทะ ก็ควรจะเพิ่ม อัตราการลอยตัว ให้มากขึ้น เพื่อช่วยในการ ลอยตัวได้ดีขึ้น </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> The United States Coast Guard has classified flotation devices into different categories depending on their expected use. They have also given them minimum buoyancy standards depending on the category. </td> <td> หน่วยคุ้มกัน ชายฝั่งสหรัฐอเมริกา แบ่งประเภทอุปกรณ์ ช่วยในการลอยตัว ออกตามลักษณะ การใช้งาน และยังกำหนด อัตราการลอยตัวขั้นต่ำ ของอุปกรณ์ประเภทต่างๆ ไว้อีกด้วย </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Type I PFD
    เสื้อชูชีพ ประเภท 1 </td></tr></tbody></table>
    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> The Type I PFD, also known as a “off-shore life jacket,” is a one-piece, reversible PFD intended primarily for use by survivors or passengers on towed vessels. A Type I PFD provides an unconscious person the greatest chance of survival in the water. The Type I PFD is the only wearable device required to be reversible. It comes in two sizes, an adult size (90 pounds and over) which provides at least 20 pounds of buoyancy and a child size (less than 90 pounds) which provides at least 11 pounds of buoyancy, and must be international orange in color. </td> <td> เสื้อชูชีพประเภท ที่ 1 หรือที่เรียกกันว่า “เสื้อชูชีพสำหรับ ปฏิบัติงานนอกชายฝั่ง” เป็นเสื้อชูชีพชิ้นเดียว ที่ใส่ได้ทั้ง 2 ด้าน วัตถุประสงค์การใช้งาน ออกแบบสำหรับ เจ้าหน้าที่ หรือผู้โดยสารบนเรือ ซึ่งเสื้อชูชีพ Type I นี้ จะช่วยให้ผู้ที่หมดสติ มีโอกาสรอดในน้ำ ได้สูงสุด ซึ่งเป็นอุปกรณ์ ช่วยลอยตัว ที่จะต้องสวมใส่ ได้ทั้ง 2 ทาง เพื่อป้องกัน การผิดพลาด ในการสวมใส่ มีด้วยกัน 2 ขนาด สำหรับผู้ใหญ่ ที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 90 ปอนด์ขึ้นไป ตัวเสื้อจะให้ อัตราการลอยตัว ต่ำสุดที่ 20 ปอนด์ สำหรับเด็ก ตัวเสื้อจะให้ อัตราการลอยตัว ต่ำสุดที่ 11 ปอนด์ และจำเป็นจะต้อง เป็นสีส้มสากล สำหรับงานกู้ภัยเท่านั้น </td></tr> </tbody></table>
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Advantages: </td> <td> ข้อดี: </td></tr> </tbody></table>
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Type I PFD is effective for all waters, especially open, rough, or remote waters where rescue may be delayed. It is designed to turn most unconscious wearers in the water from a face-dow position to a vertical or slightly backward position, allowing the wearer to maintain that position and providing at least 20 pounds of buoyancy. This buoyancy will allow you to relax and save energy while in the water, thus extending your survival time. </td> <td> เสื้อชูชีพ Type I นี้ ใช้ปฏิบัติงาน ได้ทุกสภาพอากาศ โดยเฉพาะในน้ำทะเล น้ำเชี่ยว น้ำไหล หรือในน้ำที่เป็นอุปสรรค ทำให้การเข้าช่วยเหลือ ทำได้ล่าช้า ถูกออกแบบให้ พลิกตัวผู้ประสบภัย ซึ่งหมดสติ ในท่านอนคว่ำในน้ำ ให้หงายตัวตั้งขึ้น หรือนอนตะแคง ในท่าเอียง ไปทางด้านหลัง เพื่อให้ผู้สวมใส่ ลอยตัวอยู่ใน ท่าทางดังกล่าวได้นาน และมีอัตราการลอยตัว ต่ำสุด 20 ปอนด์ ด้วยอัตราการลอยตัวนี้ จะทำให้ผู้สวมใส่ ผ่อนคลาย และไม่ต้อง ใช้พลังงานมาก เมื่ออยู่ในน้ำ และยังช่วยยืดเวลา การมีชีวิตรอด ให้ยาวนานขึ้นอีกด้วย </td></tr> </tbody></table>
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Disadvantages: </td> <td> ข้อเสีย: </td></tr> </tbody></table>
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td>
    • Bulky and it restricts movement.
    • It’s buoyancy restricts the underwater swimming ability you may need to escape from a capsized boat or to avoid burning oil or other hazards on the surface of the water.
    • Minimal protection against hypothermia.
    </td> <td>
    • เทอะทะ และจำกัด การเคลื่อนไหว ไม่เหมาะสำหรับ เจ้าหน้าที่ ซึ่งต้องว่ายน้ำ เข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัย
    • อัตรา การลอยตัว ของเสื้อชูชีพ Type I จะลดทอน ความสามารถในการว่ายน้ำ ซึ่งคุณต้องทำ เพื่อหนีจากเรือ ที่กำลังอับปาง หรือน้ำมัน ที่กำลังลุกไหม้ หรือภัยอันตรายอื่นๆ บนผิวน้ำ
    • ไม่ช่วยป้องกัน สภาพอากาศที่หนาวเย็น หรือจากอาการป่วยจาก ซึ่งร่างกาย มีอุณหภูมิต่ำกว่าปกติ (hypothermia)
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Type II PFD
    เสื้อชูชีพ ประเภท 2 </td></tr></tbody></table>
    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> The Type II PFD, also known as a “near-shore buoyant vest,” is a wearable device that will turn some unconscious wearers to a face-up position in the water. It comes in different colors and in three categories:
    • Adult (more than 90 pounds) which provides at least 15.5 pounds of buoyancy.
    • Child, medium (50 to 90 pounds) which provides at least 11 pounds of buoyancy.
    • Infant (available in two sizes, less than 50 pounds and less than 30 pounds) which provides at least 7 pounds of buoyancy.
    </td> <td> เสื้อชูชีพ Type II หรือที่เรียกกันว่า “เสื้อชูชีพสำหรับ ปฏิบัติงานใกล้ชายฝั่ง” ซึ่งเป็นอุปกรณ์ ช่วยลอยตัว ที่จะช่วยพลิกตัว ผู้สวมใส่ ให้อยู่ในท่าหงายหน้า ได้ในบางกรณี มีหลายสีและ 3 หมวด
    • สำหรับผู้ใหญ่ ที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 90 ปอนด์ขึ้นไป จะมีอัตราการลอยตัว ต่ำสุด 15.5 ปอนด์
    • สำหรับเด็ก ที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 50-90 ปอนด์ จะมีอัตราการลอยตัว ต่ำสุด 11 ปอนด์
    • สำหรับเด็กทารก มี 2 ขนาด สำหรับน้ำหนักน้อยกว่า 50 และน้ำหนักน้อยกว่า 30 ปอนด์ จะมีอัตราการลอยตัว ต่ำสุด 7 ปอนด์
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Advantages: </td> <td> ข้อดี: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> This type is usually more comfortable to wear than the Type I. It is usually the preferred PFD if there is a chance of a quick rescue, such as when other boats or people are nearby. </td> <td> เสื้อชูชีพ Type II นี้ ไม่หนาเทอะทะ และให้ความสบาย ในการสวมใส่ได้มากกว่า Type I เหมาะสำหรับ ใช้ในกรณีที่ผู้สวมใส่ สามารถได้รับ ความช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว เช่น มีเรือลำอื่น หรือบุคคลอื่น อยู่ใกล้บริเวณที่เกิดเหตุ </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Disadvantages: </td> <td> ข้อเสีย: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td>
    • The turning characteristic of the Type II is not as strong as with the Type I because of a lesser amount of flotation material.
    • It will not be as effective in turning a person to a face-up position.
    </td> <td>
    • คุณสมบัติการพลิกตัว ผู้สวมใส่ของ Type II ไม่มากเท่ากับ Type I เนื่องจากใช้วัตถุดิบ ในการลอยตัวน้อยกว่า
    • อาจจะไม่มีประสิทธิภาพ ในการพลิกตัว ผู้สวมใส่ ให้อยู่ในท่า หงายหน้าขึ้นได้ดี
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Type III PFD
    เสื้อชูชีพ ประเภท 3 </td></tr></tbody></table>
    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> The Type III PFD, also known as a "flotation aid," is routinely worn aboard boats when freedom of movement is required, the risk of falling over the side is minimal, and the water temperature is greater than 15C. It is not designed to turn an unconscious wearer to a face-up position; the design is such that conscious wearers can place themselves in a vertical or sightly backward position. It has a minimum of 15.5 pounds of buoyancy and comes in many sizes and colors. </td> <td> เสื้อชูชีพ Type III หรือที่เรียกกันว่า “อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว” ซึ่งเป็นเสื้อชูชีพ ที่ใช้ใส่ประจำเรือ เมื่อต้องการ การเคลื่อนไหว ที่คล่องตัว และโอกาสที่จะ พลัดตกเรือมีน้อย และอุณหภูมิในน้ำ มากกว่า 15 องศาเซลเซียส ไม่ได้ถูกออกแบบ ให้ช่วยพลิกตัวผู้สวมใส่ ให้อยู่ในท่าหงายหน้า แต่เพื่อช่วยให้ ผู้สวมใส่ที่มีสติ และรู้สึกตัว สามารถลอยตัว อยู่ในแนวตั้ง หรือค่อนไปทาง ด้านหลังได้ มีอัตราการลอยตัว ต่ำสุด 15.5 ปอนด์ มีหลายสี และหลายขนาด </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Advantages: </td> <td> ข้อดี: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> The Type III PFD offers boat crew members greater comfort and freedom of movement. It is designed so wearers can place themselves in a face-up position in the water. The Type III PFD allows greater comfort and is particularly useful when water skiing, riding jet skis, sailing, or other water activities. </td> <td> เสื้อชูชีพ Type III นี้ ช่วยให้สมาชิกบนเรือ สวมใส่ได้สบาย และเคลื่อนไหว ได้คล่องตัว ออกแบบมาเพื่อ ผู้สวมใส่สามารถ ลอยตัวในแนวตั้งในน้ำ เหมาะอย่างยิ่ง สำหรับนักกีฬาสกีน้ำ , เจทสกี , แล่นเรือใบ หรือกิจกรรมทางน้ำอื่นๆ </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> Disadvantages: </td> <td> ข้อเสีย: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td>
    • Flotation characteristics are marginal and not suitable for wear in heavy seas.
    • Tendency to ride-up on the wearer in the water.
    • Wearer may have to tilt head back to avoid a face-down position in the water.
    • While the Type III has the same amount of buoyancy material as the Type II PFD, the distribution of the floating material in a Type III reduces or eliminates the turning ability.
    </td> <td>
    • คุณสมบัติการลอยตัว ปานกลาง และไม่เหมาะใช้งาน ในน้ำที่ไหลแรง หรือในทะเล ที่มีคลื่นแรง
    • ตัวเสื้อ มีแนวโน้มที่จะ ยกตัวขึ้นขณะสวมใส่
    • ผู้สวมใส่อาจจะ ต้องหงายหน้าไปข้างหลัง เพื่อหลีกเลี่ยง ท่าคว่ำหน้าลงน้ำ ไม่เหมาะกับ ผู้มีสภาพร่างกายอ่อนแอ
    • แม้ ว่าเสื้อชูชีพ Type III จะมีปริมาณการใช้วัตถุดิบ ในการลอยตัวเช่นเดียวกับ เสื้อชูชีพ Type II แต่เนื่องจาก การออกแบบเสื้อ และการกระจาย ตำแหน่งของวัสดุ เพื่อช่วยในการลอยตัว ของเสื้อชูชีพ Type III จะลดและจำกัด ความสามารถในการพลิกตัว ซึ่งจะทำให้ พลิกตัวได้น้อย จึงไม่เหมาะ ในการใช้ออกทะเลใหญ่ , ในกระแสน้ำเชี่ยว และในน้ำที่ยาก แก่การเข้าช่วยเหลือ หรือในกรณีที่ ผู้ประสบภัยไม่รู้สึกตัว
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Type IV PFD
    อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว ประเภท 4 </td></tr></tbody></table>
    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td> The Type IV PFD is a Coast Guard approved device that is thrown to a person in the water and is grasped by the user until rescued. The most common Type IV devices are buoyant cushions and ring buoys. Buoyant cushions come in many different colors. Ring buoys must be white or orange in color. One of the disadvantages of the Type IV PFD is that it is not worn, although some can be secured to the body once reached in the water. </td> <td> อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว Type IV เป็นอุปกรณ์ ซึ่งเจ้าหน้าที่ยามฝั่ง จัดให้เป็นอุปกรณ์สำหรับ โยนเข้าถึงตัวผู้ประสบภัยในน้ำ (ห่วง หรือทุ่นช่วยชีวิต) และให้ผู้ประสบภัย ยึดเอาไว้ เพื่อรอรับการช่วยเหลือ อุปกรณ์ช่วยลอยตัว Type IV ส่วนใหญ่ จะมาในรูปแบบทุ่นลอยน้ำ หรือห่วงลอยน้ำ ซึ่งทุ่นสามารถ มีหลายสี แต่สำหรับห่วงลอยน้ำ จะต้องมีสีขาว หรือส้มเท่านั้น ปัญหาของอุปกรณ์ Type IV คือ เมื่อไม่ได้ มีไว้สวมใส่ ซึ่งหากไม่ผูกติด อยู่กับร่างกาย ก็อาจจะเกิดการหลุดมือ หรือเกิดความผิดพลาดได้ง่าย </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> Advantages: </td> <td width="50%"> ข้อดี: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> Type IV PFDs can be thrown to someone in need. They do not need to be worn in order to be effective and are a good backup for other types of PFDs. They are useful for helping somone in trouble who is in danger of drowning. </td> <td width="50%"> อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว Type IV สามารถโยนเข้าถึง ผู้ต้องการความช่วยเหลือ ไม่จำเป็นต้อง ผูกติดตัวผู้ใช้ และเป็นอุปกรณ์เสริมที่ดี สำหรับช่วย ในการลอยตัว เหมาะสำหรับ ช่วยเหลือผู้ที่กำลังจะจมน้ำ </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> Disadvantages: </td> <td width="50%"> ข้อเสีย: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td>
    • Not useful for unconscious persons, non-swimmers, or children.
    • Can not be used for long periods of time.
    </td> <td>
    • ไม่เหมาะกับ ผู้ประสบภัยที่หมดสติ ไร้ความรู้สึก , ผู้ที่ว่ายน้ำไม่เป็น หรือเด็กเล็ก
    • ไม่ควรใช้เป็น อุปกรณ์ช่วยลอยตัว เพื่อรอรับการช่วยเหลือ เป็นเวลานาน
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Type V PFD
    อุปกรณ์เสริมพิเศษ เพื่อการลอยตัว ประเภท 5 </td></tr></tbody></table>
    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> Type V PFDs are also known as "Special Use Devices." They are intended for specific activities and may be carried instead of another PFD only if used according to the approval conditions on the label. Some Type V PFDs are approved as a replacement for a Type I, II, or III device as noted on the PFD label. </td> <td width="50%"> อุปกรณ์เสริมพิเศษ เพื่อการลอยตัว Type V หรือที่เรียกกันว่า “อุปกรณ์เสริมพิเศษ” ออกแบบเพื่อใช้งานเฉพาะกิจกรรม และอาจจะใช้พกพา แทนอุปกรณ์ช่วย ในการลอยตัวชนิดอื่นๆ ในกรณีที่ การใช้งานเป็นไปตาม เงื่อนไขที่ระบุ บนฉลากสินค้าเท่านั้น ซึ่งอุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว Type V นี้ อาจใช้ทดแทน อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว Type I, II หรือ III ดังที่มีกำหนดไว้ ในฉลากสินค้า </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> Advantages: </td> <td width="50%"> ข้อดี: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> Type V PFDs are more convenient to use since they are designed for specific activies. They can be worn continuously without interfering with other activies and allow for immeditate protection. They are also not as hot as foam PFDs and are better for use in hot climates. </td> <td width="50%"> อุปกรณ์เสริมพิเศษ เพื่อการลอยตัว Type V ให้ความสะดวก ในการใช้งานมากกว่า เพราะออกแบบมา เฉพาะกับงาน จึงสามารถ สวมใส่ได้ยาวนาน โดยไม่เกะกะ หรือรบกวน การทำกิจกรรมอื่นๆ จึงให้การปกป้อง ได้ทันทีที่ต้องการ และไม่ร้อนเท่ากับโฟม ที่ใช้ในเสื้อชูชีพทั่วไป ใช้งานได้ดี ในสภาพอากาศร้อนอีกด้วย </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> Disadvantages: </td> <td width="50%"> ข้อเสีย: </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%">
    • Not as safe as other types of PFDs unless used according to the safety label.
    • Provide very little insulation.
    </td> <td width="50%">
    • ไม่ปลอดภัยเท่ากับ อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว ประเภทอื่นๆ ถ้าไม่ปฎิบัติ ตามข้อกำหนด ในฉลากสินค้า
    • มีความเป็น ฉนวนน้อยมาก และไม่สามารถป้องกัน ผู้สวมใส่จาก อุณหภูมิภายนอกได้
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Label Requirements
    ความสำคัญของฉลากและตราประทับ </td></tr></tbody></table>
    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> The US Coast Guard requires a label containing certification information on the PFD. The label must show the name and address of the manufacturer and the Coast Guard approval number. It also shows the amount of flotation in the device and the PFD Type (I, II, III, IV, V). </td> <td width="50%"> หน่วยคุ้มกัน ชายฝั่งสหรัฐอเมริกา ระบุให้บนฉลาก ของอุปกรณ์ช่วยในการ ลอยตัวทุกชนิด มีข้อมูลการรับรองผลิตภัณฑ์ อยู่บนอุปกรณ์ ตามข้อกำหนดดังนี้
    • ฉลากจะต้องแสดง ชื่อ และ ที่อยู่ของผู้ผลิต
    • แสดงเลขที่ การรับรองที่ออกโดย หน่วยคุ้มกัน ชายฝั่งสหรัฐอเมริกาไว้ชัดเจน
    • แสดงอัตราการลอยตัว
    • แสดงประเภท ของอุปกรณ์ช่วย ในการลอยตัว PFD ว่าจัดอยู่ใน Type ไหนไว้ด้วย
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Rescue Use Considerations
    ข้อควรคำนึงเมื่อใช้ PFD สำหรับงานกู้ภัย </td></tr></tbody></table>
    [​IMG]

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> There are no standards designed specifically for PFDs for use during rescue operations. The choice of a PFD for use in rescue must be made based on the expected use and by examining the vest for desirable features. </td> <td width="50%"> ยังไม่มีมาตรฐาน การออกแบบเฉพาะเจาะจง สำหรับอุปกรณ์ ช่วยในการลอยตัว เพื่อใช้ในงานกู้ภัย การเลือกอุปกรณ์ ช่วยในการลอยตัว สำหรับปฏิบัติงานกู้ภัย ต้องอยู่บนพื้นฐาน ของการนำไปใช้งาน และตัดสินใจจากการออกแบบ และลักษณะพิเศษ ที่จำเป็นต่อการใช้งาน </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> A rescue PFD should have a minimum number of protrusions that could catch on other equipment or natural hazards. It should not have open clips on the outside or loose straps hanging from it. PFDs with a lot of bulk on the front of the vest should be avoided since it will interfere with the ability to swim. </td> <td width="50%"> สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
    • อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว สำหรับงานกู้ภัย ไม่ควรจะมีส่วนเกิน ซึ่งสามารถเกาะเกี่ยว ให้ผู้สวมใส่ ติดกับอุปกรณ์อื่นๆ หรือส่วนเกิน ซึ่งสามารถเป็นอุปสรรค และอันตราย
    • หัวล็อคหรือขอเกี่ยว ไม่ควรถูกเปิดหรือง้างออก
    • สายรัดไม่ควรห้อยหลวม ระโยงระยาง อยู่ด้านนอก
    • เสื้อชูชีพที่มีโฟมหนาเทอะทะ อยู่ด้านหน้าของตัวเสื้อ ไม่ควรนำมาใช้งาน เพราะจะเป็นอุปสรรค ต่อการเคลื่อนไหว หรือว่ายน้ำ
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> The vest should be designed with straps to pull it tight against the body. In addition, it should have a strap close to the bottom of the vest, below the rib cage, that will prevent the PFD from sliding up. This is a very important safety consideration since in fast moving water, if a vest can move up on the body, the arms will become trapped putting the rescuer at risk. Additional desirable features include reflective tape on the shoulders of the vest, pockets, and crotch straps. </td> <td width="50%"> สิ่งที่ควรจะมี
    • ตัวเสื้อควรออกแบบ ให้สายรัดอยู่ติดแน่น เข้ากับตัวผู้สวมใส่
    • ควรมีสายรัด ใกล้กับด้านล่าง ของตัวเสื้อ บริเวณด้านล่าง กระดูกซี่โครง ช่วยให้เสื้อ ไม่ถูกดันและลอยขึ้น มาเกะกะ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญมาก ที่ต้องคำนึงถึง ในน้ำที่มีความแรง และเชี่ยวกราก เพราะหากเสื้อ ลอยขึ้นมาเกะกะแล้ว แขนก็จะติด และเคลื่อนไหวได้ ไม่สะดวก เพิ่มความเสี่ยง และอันตราย กับผู้สวมใส่
    • ส่วนประกอบของเสื้อ ก็ควรคำนึงถึง เช่น แถบสะท้อนแสง บริเวณไหล่ , กระเป๋าใส่อุปกรณ์เบ็ดเตล็ด, สายรัด บริเวณขาหนีบ ควรมีเท่าที่จำเป็น เป็นต้น
    </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td class="header" colspan="2" style="text-align: center;"> Conclusion
    บทสรุป </td></tr></tbody></table>

    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td width="50%"> A PFD should be chosen based on its expected use. While a properly made PFD can be expensive, the cost is small compared with using the wrong one. The correct PFD will provide safety while not limiting the mobility of the user. Chosing the wrong PFD can be as dangerous as not wearing one. </td> <td width="50%"> อุปกรณ์ช่วยในการลอยตัว ควรจะถูกเลือก อยู่บนพื้นฐานของ ความต้องการใช้งาน ในขณะที่อุปกรณ์ ช่วยในการลอยตัวที่ดี มักมีราคาแพง แต่ราคาก็ยังน้อย เมื่อเทียบกับการใช้งาน อุปกรณ์ผิดประเภท อุปกรณ์ที่ถูกต้อง จะช่วยเพิ่ม ความปลอดภัย และเอื้อต่อ การปฏิบัติงาน การเลือกอุปกรณ์ โดยปราศจากความเข้าใจ , ใช้งานผิดประเภท หรือใช้โดย ผู้ไม่มีประสบการณ์ สามารถสร้าง อันตรายได้เท่ากับ การไม่ใช้อุปกรณ์ใดๆเลย งบประมาณสำหรับ อุปกรณ์กู้ภัย ที่หน่วยงานเลือกใช้ มีความหมายต่อ ชีวิตของเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติ และประชาชน ผู้รอรับ ความช่วยเหลือ </td></tr> </tbody></table> ​
    <table class="article" border="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2">
    ในสถานการณ์ คับขันอันตราย จำเป็นที่ เจ้าหน้าที่กู้ภัย จะต้องมีอุปกรณ์ ที่มีคุณภาพ และจำเป็นที่ ผู้ปฏิบัติจะต้อง ผ่านการอบรม ที่ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับภัย ที่เกิดขึ้นได้ทุกเวลา และทุกรูปแบบ ทุกนาทีที่ผ่านไป ในการกู้ภัย มีความหมายมากกว่า 1 ชีวิตเสมอ ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้อง จะต้อง “ รู้งานจริง ปฏิบัติอย่างปลอดภัย และทำได้ทันที ” </td></tr> </tbody></table> ​

    สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ขอทราบราคาสินค้า และมาตรฐานอุปกรณ์กู้ภัย ได้ที่บริษัท ซี แอร์ ไทย จำกัด 087-9000-783 หรือ info@seaairthai.com

    ข้อมูลจาก http://www.seaairthai.com/content/view/35/46/lang,th/
     
  4. sug552

    sug552 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    563
    ค่าพลัง:
    +250
    เสื้อชูชีพเป่าลมแบบนี้น่าสนใจมากครับ คงต้องรบกวนให้คุณก้องนำเข้ามาขายที่ร้านแล้ว มีแล้วอย่าลืมบอกด้วยนะครับ :cool:
     
  5. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    เสื้อชูชีพแบบที่เป่าลม ก็จะมีอายุการใช้งานของมันเองครับ และตัวหนึ่ง แพงมากหลายพันบาท ครับ

    เมื่อวานเพิ่งไปติดต่อพี่ท่านหนึ่ง ที่เคยทำงาน Scuba Diving ด้วยกัน กะว่าจะออกแบบ ทำเองครับ

    ตอนนี้มีตัวต้นแบบแล้วครับ และใช้งานหนักๆมาร่วม 4 ปี ยังไม่เป็นไรเลยครับ

    และสามารถ service ได้ง่าย มีคนซ่อมให้ด้วยครับ

    ถ้าพวกชูชีพที่นำเข้ามาเอง บางทีหมดอายุ มันต้องทิ้งอ่ะครับ
     
  6. tum399

    tum399 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    732
    ค่าพลัง:
    +2,908
    จัดด่วนครับพี่ก้อง น้องๆสนใจมากครับ
     
  7. sug552

    sug552 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    563
    ค่าพลัง:
    +250
    เหอะ ๆๆ ไทยประดิษฐ์อีกแล้วครับท่าน แบบนี้ซิแจ๋ว ถ้าผลิตสำเร็จแล้วอย่าลืมนำมาโชว์นะ
     
  8. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    น่าจะทำได้ดีครับ

    เพราะคนที่ทำนี่ เป็นช่างซ่อมอุปกรณ์ดำน้ำ คนไทย มือหนึ่งของไทย เลยครับ
     
  9. karan20

    karan20 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,297
    ค่าพลัง:
    +2,379

    เร่งมือหน่อยนะครับ ผมว่าคงอีกไม่นานนี้คงจำเป็นต้องใช้
    ขอบพระคุณ
     
  10. marine24

    marine24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    2,223
    ค่าพลัง:
    +15,634
    สนับสนุนเห็นด้วย ที่จะจัดหาเสื้อชูชีพไทยทำ เพราะมีข่าวจากผู้ที่ไปพบพระที่ภาคเหนือ ท่านบอก เรามีโอกาสเจอภัยทางน้ำ พอๆ กับเจอภัยจากนิวเคลียร์ ไม่รู้ว่าจะเจออะไรก่อน ผมก็กำลังจัดเตรียมทั้งแกลลอนน้ำ ขนาด 5 ลิตร ไว้ทำทุ่นลอยตัว และกำลังจะหาแกลลอนขนาด 30 ลิตรไว้ 4 - 6 ใบเอาไว้ทำแพได้ เพราะมีไม้อัดช่ำฉาของอเมริกัน ทนน้ำฝนพอสมควร เอามาปูและมัดกับถังทำแพแสวงเครื่อง
     
  11. karan20

    karan20 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,297
    ค่าพลัง:
    +2,379
    เว็บไซต์เหล่านี้น่าจะทำให้คุณจัดเตรียมอุปกรณ์ยังชีพได้สะดวกขึ้น

    www.thailandsurvival.com

    www.kitcamp.com


    www.overzeas.net


    www.karanatravelgear.com

    http://www.thailandoutdoor.com/Outdo...tdoorShop.html

    www.BestGoody9999.com - The Best of Goody

    http://www.campinginter.com

    http://www.seaairthai.com

    ขอยืนยันว่าผมไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียกับเว็บไซต์ที่แนะนำเหล่านี้
    และผมไม่ได้จำหน่ายอุปกรณ์หรือสินค้าใดๆทั้งสิ้น
    ที่แนะนำมานี้เพราะเคยมีปัญหาในการหาซื้อและเตรียมอุปกรณ์ต่างๆมาก่อน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 เมษายน 2011
  12. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    ผมขอความคิดเห็น อยากให้มีอะไรบ้างครับ

    จะได้ไปทำเป็นตัวต้นแบบก่อนครับ

    ที่แน่ๆ อาจมี

    - เติมลมได้อย่างรวดเร็ว ด้วย CO2
    - ไฟแฟลช (อุปกรณ์เสริม)
    - เสื้อชูชีพสีส้ม สะท้อนแสง
    - นกหวีด (อุปกรณ์เสริม)
     
  13. karan20

    karan20 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,297
    ค่าพลัง:
    +2,379
    <table border="0"><tbody><tr><td colspan="2">ถ้าเป็นไปได้นะครับ อยากได้แบบที่กระทัดรัด แต่ใช้งานได้จริง
    อุปกรณ์เสริมไม่ต้อง หรือมีแค่นกหวีดก็พอ เพื่อให้ดูแลรักษาง่ายและพกพาง่าย กระทัดรัด

    สีสะท้อนแสง
    </td></tr> <tr><td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]

    แบบตัวอย่างด้านล่างนี้นะครับ

    เข็มขัดชูชีพ ของ Stearns
    Stearns Inflata-Belt




    • เป็นอุปกรณ์ช่วยลอยตัว ที่ช่วยให้การเคลื่อนไหว ที่เป็นอิสระอย่างแท้จริง
    • สวมใส่สบายบริเวณรอบเอว เช่นเดียวกับเข็มขัดทั่วไป
    • ระบบการพองตัวมีให้เลือก ทั้งแบบควบคุมโดยผู้สวมใส่ หรือระบบลอยตัวอัตโนมัติ เมื่อผู้สวมใส่อยู่ในน้ำ
    • อัตราการลอยตัวในน้ำต่ำสุด 33.7 ปอนด์
    • มาพร้อมกับกระบอกออกซิเจน ขนาด 33 กรัม 1 อัน
    • ผ่านการรับรองจาก หน่วยคุ้มกันชายฝั่งสหรัฐอเมริกา ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยลอยตัวประเภท 5
    • สี : น้ำเงิน




















    </td></tr></tbody></table>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 เมษายน 2011
  14. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    อาจจะทำเผื่อเป็นที่เหน็บ เผื่อท่านใดอยากหาอุปกรณ์เสริม ใส่เองดีกว่า น่าจะดีกว่าครับ
     
  15. วัสสานะ

    วัสสานะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +565
    อย่าลืม ยากันยุง ครับ สำหรับเมืองไทย ขาดไม่ได้
     
  16. cjundee2

    cjundee2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    154
    ค่าพลัง:
    +71
    ถ้าทำได้จริง ตั้งกระทู้ไว้ด้วยนะครับ ผมสนใจสั่งซื้อด้วยคนนะครับ
     
  17. baiyanang

    baiyanang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2011
    โพสต์:
    42
    ค่าพลัง:
    +166
    ..เรียนคุณก้องค่ะ
    เสื้อชูชีพสำหรับคนว่ายน้ำไม่เป็น ใช้ในแบบเดียวกับคนที่ว่ายน้ำเป็นเลยไหมคะ สนใจอีกคนค่ะ
    ครั้งที่แล้ว วิทยุ ไม่ได้เลย เพราะเพิ่งเข้ามาเป้นสมาชิกได้ไม่นาน เลยไม่ทันค่ะ
     
  18. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    แบบเดียวกันครับ

    ถ้าถูกหน่อยจะแบบไม่มีรองคอ

    ถ้าแพงหน่อย จะแบบมีปก สามารถ save คอ ได้ระดับหนึ่ง

    ควรมีสีส้มสะท้อนแสง

    ควรมีนกหวีด ติดไว้ พร้อมเชือก ติดกับเสื้อชูชีพ ครับ
     
  19. แมวน้ำ9

    แมวน้ำ9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    689
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +512
    ของไทยค่ะราคาถูกๆ

    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=10 width="95%" align=center><TBODY><TR><TD height=2 colSpan=2><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD width="84%">ข้อมูลรายละเอียดสินค้าของ กลุ่มอาชีพตัดเย็บ (สีคิ้ว)</TD><TD width="16%" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top><TD height=175 width="38%" align=middle>[​IMG]

    [​IMG]
    มผช.1101/2548
    </TD><TD height=175 width="62%">[​IMG]
    รหัสผลิตภัณฑ์ (Code): 302009-D001</B>

    ผลิตภัณฑ์ (Product) เสื้อชูชีพ</B>

    รายละเอียดผลิตภัณฑ์
    เสื้อชูชีพ (11751)


    ราคาขายปลีก 180 บาท


    สินค้าสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 2547
    ประเภทผลิตภัณฑ์ : ผ้า เครื่องแต่งกาย
    ระดับดาว : [​IMG]
    มาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (มผช.) : 1101/2548


    สถานที่จำหน่าย
    กลุ่มอาชีพตัดเย็บ (สีคิ้ว)
    88 หมู่ 1 ตำบลมิตรภาพ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา 30140
    ติดต่อ : คุณญาณวิทย์ ชุนนะวรรณ์
    โทร : 086 585 2424
    โทรสาร : 044 290615

    หมายเหตุ
    ภาพจากการถ่ายทำของกลุ่มคุณญาณวิทย์ ชุนนะวรรณ์ (11/7/51)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. แมวน้ำ9

    แมวน้ำ9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    689
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +512
    เสื่อชูชีบแบบนี้ถ้ามีอะไรมากระแทกตัวเราคงจะช่วยไม่ให้เจ็บมาก
     

แชร์หน้านี้

Loading...