ฟ้องด้วยภาพ ที่เขาประสบภัยพิบัติจากทอร์นาโด หรือ น้ำท่วมฉับพลัน

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ออร์กะ, 8 มิถุนายน 2010.

  1. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    <o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype> 6 มิถุนายน 2553 เสียชีวิต 7 สถานที่ทอร์นาโดลง Lake Township, ทางเหนือของรัฐโอไฮโอ <st1><st1:country-region w:st="on">USA </st1:country-region></st1>ทอร์นาโด ครั้งนี้มีความแรง ระหว่าง F3 และ F4
    <o></o>
    เราผู้มีจิตเมตตา มีการแสดงออกถึงความกรุณาบอกแจ้งให้ผู้อื่นทราบ ส่งจิตแผ่เมตตาให้เขาหายทุกข์ แค่นี้ย่อมเกิดเป็นบุญแก่ตนแล้วครับ
    <o></o>
    ทำความรู้จักพายุ-ทอร์นาโดเป็นอย่างไร เกิดได้อย่างไร จริงๆแล้วเรื่องนี้ยังอยู่ในขั้นสมมุติฐาน ที่ต้องศึกษากันต่อไป
    <o></o>
    ทอร์นาโด (tornadoes)

    หรือพายุงวงช้างตามภาษาไทย เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติของสภาพอากาศ ที่รวมตัวกันและหมุนด้วยความเร็วสูง โดยพายุงวงช้างสามารถเห็นการรวมตัวหมุนลงมาจากพายุเมฆฝนบนฟ้า และย้อยต่ำลงมาแกว่งไปตามทิศทางของพายุนั้น ถ้างวงช้างนี้ลดต่ำลงมาสำผัสกับพื้นดินและสิ่งก่อสร้าง ย่อมเกิดอำนาจในการทำลายทั้งชีวิตและทรัพย์สินจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งด้วยพลังแรงลมมหาศาลที่เกิดมาจากความเร็วของการหมุนรอบตัวของลมพายุงวงช้างนี้ และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของงวงช้างที่ลงมาถึงพื้นดิน สำหรับความแรงของลมพายุงวงช้างนี้เขาจัดไว้ 5 ระดับ คือ F1 ถึง F5 (สูงสุด) ซึ่งคิดมาจากอำนาจการทำลายซึ่งจะกล่าวต่อไป<o></o>
    <o></o>
    สำหรับพายุงวงช้างที่สำผัสพื้นดินสามารถลอยตัวกลับขึ้นสู่ฟ้าและกลับลงมายังพื้นดินแห่งใหม่สร้างความเสียหายได้อย่างต่อเนื่อง และพายุงวงช้างอาจเกิดขึ้นทีละหลายลูกได้ ถ้าพายุงวงช้างสำผัสกับน้ำเช่นพื้นทะเล ในบางโอกาสจะดูดเอาปลาขึ้นไปบนฟ้าด้วย ซึ่งเคยเป็นข่าวให้เห็นมาแล้วที่ปลาตกมาจากฟ้า <o></o>
    <o></o>
    ทอร์นาโดสามารถทำลายเมืองได้ เช่นที่เมือง ซีเนีย รัฐโอไฮโอ <st1><st1:country-region w:st="on">USA</st1:country-region></st1> เมื่อ 3 เมษายน 2517 ขนาดความแรง F5 ตาย 34 บาดเจ็บ 1150 คนไร้ที่อยู่ 10,000 ธุรกิจถูกทำลาย 180 แห่ง
    <o></o>
    ทอร์นาโดสามารถหอบเศษซากสลักหักพังไปได้ห่างไกลมากจากที่เกิดเหตุ แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่น่าสนใจคือ พายุทอร์นาโดเกิดขึ้นมาได้อย่างไร คำตอบอยู่ในเรื่องของบรรยากาศและความดันอากาศที่เราควรต้องทราบ<o></o>
    <o></o>
    เมื่ออากาศและบรรยากาศในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง มีการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิและมีสภาพความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่มีความกดดันระหว่างความกดอากาศสูงและความกดอากาศต่ำมาพบกัน มันอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดทอร์นาโดได้ คือเกิดพายุหมุนเหมือนกับการเกิดในรูปลักษณะเดียวกับน้ำวน <o></o>
    <o></o>
    สภาพของแรงกดอากาศต่ำและสูงมาพบกันและทำให้เกิดพายุงวงช้างนี้ได้ โดยมากจะเกิดขึ้นเมื่อมีพายุฝนฟ้าคะนอง ซึ่งนักอุตุนิยมวิทยาพบว่าเมื่อมีพายุฝนฟ้าคะนอง พวกเขาจะจับตาไปที่จอเรด้า เฝ้าระวังลักษณะของก้อนเมฆฝนที่มีความเข็มของพายุฝนสูง (Supercell) เพราะ Supercell นี้อาจก่อให้เกิดพายุงวงช้างได้ ซึ่งถ้านักอุตุนิยมวิทยาเห็นในลักษณะเช่นนี้ เขาจะแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบในการเตือนภัย เพื่อเปิดสัญญาณเตือนภัย (ไซเรน) เตือนให้คนในบริเวณดังกล่าวได้ระวัง เตรียมหาที่หลบซ่อนที่ปลอดภัย ไม่ออกมาอยู่กลางแจ้ง แต่ก็แปลกที่ในบางครั้งที่มีคนตายมาก สาเหตุเพราะทางการไม่เปิดสัญญาณเตือนภัย เพราะทางฝ่ายอุตุฯ จับภาพลักษณะของพายุที่รวมตัวกันนี้ไม่ได้ ในเวลานี้ยังไม่มีใครสามารถบอกได้ว่าถึงแม้ทอร์นาโดอยู่ในรัศมีของเรด้า แต่ทำไมจับพายุนี้ไม่ได้ <o></o>
    <o></o>
    ห้องที่ปลอดภัยในการซ่อนตัวหลบทอร์นาโดคือห้องใต้ดินหรือห้องในตัวตึกที่ก่อสร้างมีความแข็งแรง จะแข็งแรงแค่ไหน เรามาดูภาพที่เราเห็นแล้วจะสงสารคนที่เขาโดนพายุงวงช้างนี้ จากภาพจะเห็นว่าตัวบ้านถูกพายุหอบไปหรือถูกทำลายไป เหลือแต่พื้นบ้านไว้ <o></o>

    น้ำท่วมฉับพลัน (Flash Flooding)
    <o></o>
    น้ำท่วมฉับพลันเป็นปรากฏการณ์ที่ฝนตกลงมาอย่างหนัก และน้ำเอ่อล้นตลิ่งขึ้นมาอย่างรวดเร็วบ้าง น้ำป่าหรือน้ำไหลหลากจากพื้นที่สูงลงมาอย่างรวดเร็วบ้าง หรือเมื่อฝนตกทางน้ำถูกปิดกั้นไว้เช่นจากน้ำแข็ง แล้วเขื่อนน้ำแข็งพังทลายก็มีสภาพเหมือนเขื่อนแตก หรือทางไหลของน้ำที่เป็นที่ราบต่ำกว่า เมื่อฝนตกหนักทำให้ปริมาณน้ำจำนวนมากพุ่งเข้ามาในบริเวณนั้น

    น้ำท่วมฉับพลันเกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน และด้วยน้ำที่ไหลแรงและเร็วนี้เอง เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้คนและทรัพย์สินที่อยู่ในทางผ่านของน้ำ ถูกฆ่า ถูกทำลาย แม้แต่ตึก และบ้านที่สร้างริมแม่น้ำลำคลอง น้ำที่มาแรงพัดทำลายตลิ่ง พัดพาตึก บ้านริมน้ำพัดพาไปได้ หรือตัดถนน พัดพารถไป

    ข้อคิด ท่านที่ได้ชมรูปภัยพิบัติ พึงสังหรณ์ว่า ทำไมปัจจุบันถึงได้เกิดภัยพิบัติมากมายและบ่อยครั้งกว่าสมัยในอดีต ลองช่วยกันคิดกันตอบครับ<o></o>

    ขอบคุณครับ

    ทอร์นาโด

    <o></o>
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]


    น้ำท่วมฉับพลัน

    ข่าว 16 มิถุนายน 2553 ฝรั่งเศสตอนใต้ ตาย 25 คน

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    ฝนตกลงมาอย่างหนักที่รัฐโอกาโฮมา สหรัฐอเมริกา

    [​IMG]

    ข่าว 15 มิถุนายน 2553

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype>LITTLE ROCK, <st1:state w:st="on"><st1>รัฐอากันซาอ์ สหรัฐอเมริกา น้ำท่วมฉับพลันตาย 20 คน
    </st1></st1:state><st1:state w:st="on"><st1>
    ข้อเตือนสติ
    </st1></st1:state> (รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม)

    <st1:state w:st="on"><st1>[​IMG]
    </st1></st1:state>
    ขอบคุณครับ



    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กรกฎาคม 2010
  2. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    <o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype>ขออย่าได้มีเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นในประเทศไทยครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype> ทอร์นาโดในปี 2553 ที่ <st1><st1:country-region w:st="on">USA</st1:country-region></st1> ทำลายชีวิต (ไม่นับผู้บาดเจ็บ) ขอยกเป็นตัวอย่างเช่น<o></o>
    <o></o>
    6 มิถุนายน 2553 เสียชีวิต 7 สถานที่ <st1>Lake</st1> Township, รัฐโอไฮโอ

    10 พฤษภาคม 2553 เสียชีวิต 10 สถานที่ <st1><st1:city w:st="on">Yazoo City</st1:city>, <st1:state w:st="on">Mississippi</st1:state></st1>

    25 เมษายน 2553 เสียชีวิต 1 คน สถานที่<st1> <st1:state w:st="on">Oklahoma</st1:state></st1>
    <o></o>
    น่าสังเกตว่า ทำไมเด็กรอดชีวิต<o></o>

    22 กุมภาพันธ์ 2541 เสียชีวิต 42 คน สถานที่เกิดเหตุ <st1><st1:city w:st="on">Orlando</st1:city>, <st1:state w:st="on">Florida</st1:state></st1> สำหรับ Jonathan Waldick, อายุ 18 เดือนพบหลังจากเกิดทอร์นาโดแล้วสองวัน โดยมีผู้พบรอดชีวิตอยู่บนยอดไม้ นอนอยู่ในเบาะของเขา

    7 กุมภาพันธ์ 2551 เสียชีวิตใน 5 รัฐรวม 57 คน สำหรับที่ CASTALIAN SPRINGS, Tennessee มีผู้เสียชีวิต 6 คนมีแม่อายุ 24 ปี ของบุตรชาย Kyson อายุ 11 เดือนเสียชีวิต แต่เด็กรอดตาย ทั้งๆที่ลมพายุหอบไปตกไหลจากบ้าน 100 เมตร <o></o>
    <o></o>
    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 มิถุนายน 2010
  3. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    Fujita scale - Wikipedia, the free encyclopedia
    <o></o>
    ความเร็วทอร์นาโด วัดเป็น ไมล์ต่อชั่วโมง (mph) หรือ กิโลเมตรต่อชั่วโมง (km/h)
    <o></o>
    F1 73–112 mph 117–180 km/h เสียหายเล็กน้อย กิ่งไม้หักได้ ผลักรถยนต์ได้ พลิกบ้านที่ติดตั้งบนล้อเลื่อนสำหรับเคลื่อนย้ายได้
    <o></o>
    F2
    113–157 mph 181–253 km/h เกิดความเสียหาย หลังคาเปิง ถอนต้นไม้ได้.
    <!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1027" type="#_x0000_t75" alt="F3 damage example" href="http://en.wikipedia.org/wiki/File:F3_tornado_damage_example.jpg" title="&quot;F3 damage example&quot;" style='width:126pt;height:80.25pt' o:button="t"> <v:imagedata src="file:///C:\WINDOWS\TEMP\msohtml1\01\clip_image005.jpg" o:href="http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/a6/F3_tornado_damage_example.jpg/150px-F3_tornado_damage_example.jpg"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    F3
    158–206 mph 254–332 km/h เสียหายมาก ยกรถยนต์้เหวี่ยงไปได้ ทำให้ตู้รถไฟตกรางได้ ต้นไม้ถอนราก
    <!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1028" type="#_x0000_t75" alt="F4 damage example" href="http://en.wikipedia.org/wiki/File:F4_tornado_damage_example.jpg" title="&quot;F4 damage example&quot;" style='width:126pt;height:95.25pt' o:button="t"> <v:imagedata src="file:///C:\WINDOWS\TEMP\msohtml1\01\clip_image007.jpg" o:href="http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/4/44/F4_tornado_damage_example.jpg/150px-F4_tornado_damage_example.jpg"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    F4
    207–260 mph 333–418 km/h เสียหายรุนแรง บ้านที่สร้างไม่แข็งแรงจะถูกทำลาย ยกรถยนต์พลิกคว่ำพลิกหงายได้
    <o></o>
    F5 261–318 mph 419–512 km/h ราบเรียบเป็นหน้ากลอง บ้านตึกก็เหลือแต่ฐานตึก ยกรถยนต์ปลิวไปตกห่างไกลได้ถึง 100 เมตร



     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • F Scale.doc
      ขนาดไฟล์:
      60.5 KB
      เปิดดู:
      71
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 มิถุนายน 2010
  4. Riyko

    Riyko เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +107
    Fujita scale - Wikipedia, the free encyclopedia

    เพิ่มเติมรูปให้นะคะ

    <O></O>
    ความเร็วทอร์นาโด วัดเป็น ไมล์ต่อชั่วโมง (mph) หรือ กิโลเมตรต่อชั่วโมง (km/h)

    [​IMG]
    <O></O>
    F1 73–112 mph 117–180 km/h เสียหายเล็กน้อย กิ่งไม้หักได้ ผลักรถยนต์ได้ พลิกบ้านที่ติดตั้งบนล้อเลื่อนสำหรับเคลื่อนย้ายได้

    [​IMG]

    F2 113–157 mph 181–253 km/h เกิดความเสียหาย หลังคาเปิง ถอนต้นไม้ได้.
    [​IMG]

    F3
    158–206 mph 254–332 km/h เสียหายมาก ยกรถยนต์้เหวี่ยงไปได้ ทำให้ตู้รถไฟตกรางได้ ต้นไม้ถอนราก
    [​IMG]
    F4 207–260 mph 333–418 km/h เสียหายรุนแรง บ้านที่สร้างไม่แข็งแรงจะถูกทำลาย ยกรถยนต์พลิกคว่ำพลิกหงายได้

    <O></O>[​IMG]
    F5 261–318 mph 419–512 km/h ราบเรียบเป็นหน้ากลอง บ้านตึกก็เหลือแต่ฐานตึก ยกรถยนต์ปลิวไปตกห่างไกลได้ถึง 100 เมตร
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image002.jpg
      image002.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.4 KB
      เปิดดู:
      767
    • image004.jpg
      image004.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.3 KB
      เปิดดู:
      1,444
    • image006.jpg
      image006.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.5 KB
      เปิดดู:
      1,444
    • image008.jpg
      image008.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.3 KB
      เปิดดู:
      1,440
    • image010.jpg
      image010.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.7 KB
      เปิดดู:
      1,439
  5. manganiss

    manganiss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2009
    โพสต์:
    256
    ค่าพลัง:
    +636
    เมื่อ วันที่ 5 มิย. ที่ผ่านมานี้ ก็มีเพทภัยธรรมชาติ ลมพายุไซโคลนเฟท (Phet) พัดเข้าถล่มประเทศโอมาน[​IMG]
    เส้นทางของพายุ


    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม จะเห็นตาไต้ฝุ่นชัดเจน


    [​IMG]

    โชว์ตัว ก่อนจะขึ้นบก ถล่ม ..


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]

    [​IMG]

    สภาพของเมฆฝน

    [​IMG]

    [​IMG]

    ความเสียหายที่เกิดขึ้น
     
  6. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    Manganiss # 5
    <o></o>
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> 5 มิถุนายน 2553 พายุไซโคลนเฟท ขึ้นฝั่งที่ประเทศโอมาน
    <o></o>

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ขออนุโมทนาความปรารถนาดีของคุณManganiss ที่ช่วยหาข้อมูลมาสนับสนุนเรื่องภัยพิบัติ จากประเทศโอมาน มีรูปที่ชัดเจน มีแผนที่บ่งบอกว่าอยู่ที่ไหน พายุเป็นไปอย่างไร ดีมากครับ ทำให้พวกเรามีความรู้มากยิ่งขึ้นครับ

    ถ้าพวกเราช่วยๆ กันเช่น
    คุณManganiss เราทั้งหลายก็จะมีความรู้ทันกับเหตุการณ์โลก

    และเราจะได้ไม่ประมาท และเห็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสดีแล้วในเรื่อง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นสิ่งที่ไม่มีใครจะหลีกพ้นไปได้ ไม่ประสบเรื่องนี้ก็ประสบเรื่องนั้น แม้แต่ว่าเราจากชีวิตนี้ไปแล้ว เราก็ต้องกลับมาวนเวียนกับการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ในรูปในภูมิต่างๆ และเมื่อไรเราไม่เกิดอีก นั่นแหละเราถึงจะพ้น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ครับ


    ขอบคุณมากครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 มิถุนายน 2010
  7. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    มีความรู้ อาจช่วยชีวิตของตนและผู้อื่นได้

    ความไม่ประมาท เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสสอน
     

แชร์หน้านี้

Loading...