พระภิกษุณีเถรวาทมีแล้ว?

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย วิมลเกียรติ์, 17 พฤศจิกายน 2009.

  1. วิมลเกียรติ์

    วิมลเกียรติ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    588
    ค่าพลัง:
    +2,123
  2. วิมลเกียรติ์

    วิมลเกียรติ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    588
    ค่าพลัง:
    +2,123
    <TABLE height=36 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width="80%">ความคิดเห็นที่ 1</TD><TD vAlign=top noWrap align=right width="50%">[​IMG] <!--InformVote=1--><SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[1], 1);</SCRIPT>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <!--MsgIDBody=1-->อาจารย์ฝรั่งเกือบทุกคนที่เป็นศิษย์หลวงพ่อชา เห็นว่านี่เป็นความผิดพลาดอย่างร้ายแรง
    และ ทางวัดป่าพง ได้ตัด วัดโพธิญาณ ออกจากวัดสาขาแล้ว
    โดยที่ผ่านมาได้มีอาจารย์พรหมไปชี้แจง ต่อหน้าพระป่ากว่าร้อยหกสิบรูปทั่วประเทศในการประชุมที่วัดป่าพง
    ซึ่ง อาจารย์พรหม ได้เลือกที่จะออกจากวัดสาขาไป

    เรื่องนี้เป็นเรื่องร้ายแรงอย่างมาก และจะเกิดเป็นรอยปริแตกของเถรวาทในต่างประเทศ และอาจนำมาซึ่งการแตกแยกในไทยด้วย ไม่น่าทำ อาจารย์ชามรณภาพไปไม่กี่สิบปี หลวงตามหาบัวก็ยังอยู่พระพรหมคุณาภรณ์ก็แสดงออกชัดเจน
    และดูเหมือนการบวชก็ไม่ถูกต้อง และพยายามเก็บเป็นความลับไม่บอกใครแม้แต่พระฝรั่งด้วยกัน
    เรื่องนี้อย่างไรก็ต้องรู้กันทั่ว คงไม่โกรธที่ผมเอามาเล่าให้ฟัง <!--MsgEdited=1-->

    [SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 10 พ.ย. 52 12:02:49[/SIZE] <!--MsgFile=1--><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=1-->4 (บีโกะ) [​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom noWrap width=75>เขียนเมื่อ</TD><TD vAlign=bottom>: <!--MsgTime=1-->10 พ.ย. 52 11:59:05 <!--MsgIP=1-->[​IMG] </TD></TR><TR><TD id=xscore1 vAlign=top noWrap width=75></TD><TD id=score1></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. วิมลเกียรติ์

    วิมลเกียรติ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    588
    ค่าพลัง:
    +2,123
    <TABLE height=36 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width="80%">[​IMG] ความคิดเห็นที่ 11</TD><TD vAlign=top noWrap align=right width="50%">[​IMG] <!--InformVote=11--><SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[11], 11);</SCRIPT>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <!--MsgIDBody=11-->ที่ประเทศไต้หวันให้โอกาสผู้หญิงได้บวชเป็น "พระภิกษุณี" เท่าเทียมกับผู้ชาย ซึ่งถือศีล 227 ข้อ

    ปัจจุบันในใต้หวันมีผู้บวชเป็นพระในพระพุทธศาสนาเป็นชายคือพระภิกษุราว 30% เป็นหญิงคือพระภิกษุณีอยู่ถึง 70% โดยวัดส่วนใหญ่แยกเป็นวัดที่มีแต่พระภิกษุและพระภิกษุณีเท่านั้น วัดที่มีพระภิกษุและพระภิกษุณีอยู่ในวัดเดียวกันมี แต่เป็นส่วนน้อย

    ข้อมูลจากหนังสือ คู่สร้างคู่สม ฉบับที่ 651 <!--MsgFile=11-->

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=11-->ดีพอหรือยัง [​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom noWrap width=75>เขียนเมื่อ</TD><TD vAlign=bottom>: <!--MsgTime=11-->10 พ.ย. 52 15:01:41 <!--MsgIP=11-->[​IMG] </TD></TR><TR><TD id=xscore11 vAlign=top noWrap width=75></TD><TD id=score11></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. วิมลเกียรติ์

    วิมลเกียรติ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    588
    ค่าพลัง:
    +2,123
    Why Ajahn Brahmavamso was excluded from the Wat Pa Phong Sangha

    The Buddhist Channel, Nov 5, 2009


    The following is a statement from Wat Pa Nanachat, explaining their reasons for the expulsion of Ajahn Brahmavamso from the Wat Pa Phong Sangha
    Kuala Lumpur, Malaysia -- Receiving ordination as a bhikkhu in Thailand, entails acceptance of the authority not only of the Vinaya, but also that of the Mahatherasamakom, (the Thai Sangha's governing body) and the laws of the land.


    [​IMG]The Wat Pa Phong Sangha considers as a matter of course, that all of its members are ethically bound to respect their commitments to the Mahatherasamakom and to the Thai State.
    Ajahn Brahmavamso deliberately and unilaterally performed a ceremony knowing it to be considered illegal by the Thai state, illegitimate by the Mahatherasamakom and thus unacceptable to the Wat Pa Phong Sangha. There could be little doubt that by doing so he was, in effect, turning his back on continued membership of the Wat Pa Phong Sangha
    Wat Pa Phong and its branch monasteries constitute an informal grouping within the Thai Sangha. Membership of this group is voluntary and dependent on a willingness to conform to certain broad standards, most of which were established by Ajahn Cha.

    <SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-7782858898060907";google_ad_width = 336;google_ad_height = 280;google_ad_format = "336x280_as";google_ad_type = "text";//2007-03-22: bc-contentgoogle_ad_channel = "9968622564";google_color_border = "FFFFFF";google_color_bg = "FFFFFF";google_color_link = "336699";google_color_text = "000000";google_color_url = "000000";//--></SCRIPT><SCRIPT src=" http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 336px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: medium none; POSITION: relative; HEIGHT: 280px"><INS style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-TOP: medium none; DISPLAY: block; PADDING-LEFT: 0px; VISIBILITY: visible; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 336px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: medium none; POSITION: relative; HEIGHT: 280px"><IFRAME id=google_ads_frame2 style="LEFT: 0px; POSITION: absolute; TOP: 0px" name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-7782858898060907&format=336x280_as&output=html&h=280&w=336&lmt=1258430911&channel=9968622564&ad_type=text&color_bg=FFFFFF&color_border=FFFFFF&color_link=336699&color_text=000000&color_url=000000&flash=10.0.22.87&url=http%3A%2F%2Fwww.buddhistchannel.tv%2Findex.php%3Fid%3D70%2C8661%2C0%2C0%2C1%2C0&dt=1258430911500&prev_fmts=468x15_0ads_al_s&correlator=1258430911468&frm=0&ga_vid=963452908.1258430911&ga_sid=1258430911&ga_hid=1977034570&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=0&u_java=1&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=609&bih=381&ref=http%3A%2F%2Fwww.pantip.com%2Fcafe%2Freligious%2Ftopic%2FY8530275%2FY8530275.html&fu=0&ifi=2&dtd=15&xpc=fHsyWigsk9&p=http%3A//www.buddhistchannel.tv" frameBorder=0 width=336 scrolling=no height=280 allowTransparency></IFRAME></INS></INS>
    They include dhutanga practices such as daily almsround and eating one meal a day from the almsbowl. Special allowances are granted for overseas monasteries and generally speaking, abbots are almost completely autonomous in the running of their own monasteries.

    However, in the case that a monastery develops practices that significantly deviate from the Wat Pa Phong template, the matter is raised at the annual general meeting in June. The abbot in question is interviewed and asked to choose between the unacceptable practice or exclusion from the group. This procedure was followed in the case of Ajahn Brahmavamso with a meeting held on 1st November.
    Exclusion from the Wat Pa Phong Sangha is primarily intended to maintain the harmony and integrity of the group. It is not a punitive measure, although in Thailand at least, exclusion may lead to a certain loss of prestige and material gains.
    Ajahn Brahmavamso is unlikely to be adversely affected by the exclusion. His reputation and fund- raising activities may well be enhanced. His social ties with Wat Pa Phong were already weak. He has neglected relations with his Thai colleagues for some time now.
    Over the last few years several of his trips to Thailand have been devoted to teaching laypeople without including visits to Ubon (most notably the one that coincided with the Wat Pa Phong annual general meeting of June 2009 in which the bhikkhuni issue was discussed).
    The most common view of the Western theras (elders) is that Ajahn Brahmavamso had agreed to host a 'World Abbots Meeting (WAM) in December in which discussion of the bhikkhuni question was on the agenda. If he had waited until that meeting, and after talking things through, announced his decision to leave the WPP Sangha in order to follow a path he felt deeply to be correct and noble, his actions would have been considered regrettable but honourable.
    In planning a bhikkhuni ordination for a couple of months before the WAM was to take place, in concealing his plans until a week before the ordination, and in carrying out the ceremony without speaking to either his preceptor, Somdet Buddhajahn, or the leader of the WPP Sangha, Luang Por Leeam beforehand at all, he acted in a way that suggested deceit and disrespect.
    For most of the Wat Pa Phong theras, the intellectual argument over the validity of bhikkhuni ordination is not the point. Their lack of knowledge of the latest studies on the subject is, in their eyes, irrelevant.
    To them the issue is that Ajahn Brahmavamso reneged on commitments implicit in his ownership of a Thai monastic passport, his role as abbot of a Wat Pa Phong branch monastery, his position as an officially sanctioned preceptor, and his acceptance of the Jow Khun title (formalizing his membership in the elite strata of the Thai monastic order).
    In the meeting of the 1st November it was the perception that Ajahn Brahmavamso had acted disrespectfully to his teachers and lineage that aroused emotions, not his wish to elevate the status of women.
    Time only will tell if the bhikkhuni ordination at Bodhinyana monastery in October 2009 will be seen as a key breakthrough in the acceptance of a Theravada bhikkhuni order, or as an overly hasty and confrontational move that alienated many of those it was intended to persuade.
    Wat Pa Nanachat


    http://www.buddhistchannel.tv/index.php?id=70,8661,0,0,1,0<!-- stopprint -->
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 พฤศจิกายน 2009
  5. วิมลเกียรติ์

    วิมลเกียรติ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    588
    ค่าพลัง:
    +2,123
    <TABLE height=36 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width="80%">[​IMG] ความคิดเห็นที่ 13</TD><TD vAlign=top noWrap align=right width="50%">[​IMG] <!--InformVote=13--><SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[13], 13);</SCRIPT>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <!--MsgIDBody=13-->ดูเหมือนหัวเรี่ยวหัวแรง เป็นพระชื่อ สุชาโต sujato
    อ่านคอมเม้นท์ฝรั่งแล้ว เขาไม่รู้อะไรเกี่ยวกับวินัย คิดแต่ว่า ถ้าไม่ได้เป็นศีลปาราชิกก็ทำได้ เพราะเขาคิดว่าเรื่องความทัดเทียมกันเป็นเรื่องสำคัญ? และที่น่าตกใจคือ
    จม ที่ชี้แจง ตรงหน้าเวปโพธิญานนั้น แสดงอย่างโจ่งแจ้งว่า ความลงรอยหรือเป็นเอกภาพของสายวัดป่าพงนั้น
    ไม่สำคัญเท่ากับ ของพระพุทธเจ้า ในการตอบโต้ว่า ถ้าไม่ยึดกันไว้ ต่างคนต่างทำ ไม่นานก็คงเสื่อมเสีย (หมายถึงวัดสายป่าพงด้วยกัน)
    อืมม์ ชวนม่วนชื่น

    ยอมรับด้วยว่า ต้องการจะเก็บเงียบ เพราะอย่างไรทางเมืองไทยก็ไม่ยอมอยู่ดี
    และปฏิเสธว่าจะทำตามกฎของคณะสงฆ์ไทย กฎของพระพุทธเจ้าเท่านั้นสำคัญ

    อ่านได้หน้าเวป โพธิญาน นะครับ <!--MsgFile=13-->
    <TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=13-->4 (บีโกะ) [​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom noWrap width=75>เขียนเมื่อ</TD><TD vAlign=bottom>: <!--MsgTime=13-->10 พ.ย. 52 16:04:22 <!--MsgIP=13-->[​IMG] </TD></TR><TR><TD id=xscore13 vAlign=top noWrap width=75></TD><TD id=score13></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- End Message Box-->
     
  6. เกาลัด

    เกาลัด Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +32
    ไม่ได้มาตอบโต้นะ แต่ขอแนะนำให้บอกlinkให้ผู้อ่านท่านอื่นๆอ่านจากต้นฉบับจริงในบล็อกที่ท่านสุชาโตเขียน ทางนั้นบอกว่าเข้าใจจากการพูดจากะสมเด็จฯว่ากฎของมหาเถรสมาคมใช้กับเมืองไทยเท่านั้น

    ได้พูดคุยกะพระเถระท่านนึงก่อนเกิดเหตุ(1พย.) ท่านเป็นกรรมการที่ลงนามในจม.ด้วย ถามท่านว่าทำไมฝรั่งเขาต้องการบวชภิกษุณี ท่านอธิบายว่า เป็นเรื่องสิทธิสตรี เพราะจริงๆแล้วท่านก้เคยเอาพระธาตุของแม่ชีแก้วไปบรรจุที่ทางออสเตรเลีย เพื่อเป็นตัวอย่างว่าผู้ปฏิบัติดีสามารถบรรลุธรรมที่จิต ไม่เกี่ยวกับเพศ ท่านอธิบายเพิ่มเติมด้วยว่าการบวชนั้นไม่สมบูรณ์เพราะภิกษุณีขาดสูญไปนานแล้ว(ฝ่ายเถรวาท) อันนี้ไม่รู้ว่าพระวินัยการบวชภิกษุณีเป็นอย่างไร แต่ฟังตอนนั้นไม่คิดว่าท่านอาจารย์พรหมจะยอมถูกตัด

    ส่วนที่ท่านสุชาโตอธิบายในบล็อก ท่านว่าในเมื่อท่านบวชแล้วได้พบสิ่งดีๆมีความสุข ท่านก็อยากแบ่งปันโอกาสนั้นให้สตรีเพศด้วย

    ทางเมืองนอกโดยเฉพาะออสเตรเลียตอนนี้มีคนเข้าไปเห็นด้วย รวมทั้งทางสิงคโปร์ เข้าใจว่าเป็นลูกศิษย์ของท่าน
     
  7. หนองสะลาบ

    หนองสะลาบ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    334
    ค่าพลัง:
    +564
    ทำไมมีแต่เรื่องทะเลาะเบาะแว้งแตกแยกทั้งการเมืองทั้งศาสนา
     
  8. ก็แค่นั้น

    ก็แค่นั้น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    39
    ค่าพลัง:
    +169
    คนก็อย่างเงี่ย บัญญัติกันเองไปเรื่อย ไม่พอใจอยากทำไรก็ทำ อยากเปลี่ยนก็เปลี่ยน ไม่ยอมรับพระวินัยแล้วยังสามารถเรียกตัวเองบุตรของพระพุทธเจ้าได้อีกเหรอ เปลี่ยนเองอย่างนี่ เฮ้อ แล้วที่บอกว่า"ส่วนที่ท่านสุชาโตอธิบายในบล็อก ท่านว่าในเมื่อท่านบวชแล้วได้พบสิ่งดีๆมีความสุข ท่านก็อยากแบ่งปันโอกาสนั้นให้สตรีเพศด้วย"<=อันนี้ผมไม่ทราบนะครับว่าเขาแปลถูกป่าวเพราะผมโง่อ่านไม่ภาษาอังกฤษไม่ค่อยจาออก อยากแบ่งปันจนละเมิดพระวินัยก็ไม่ไหวน๊า กิเลสชัดๆมองไม่เห็นรึ แต่ถึงอย่างไรการบวชไม่สมบูรณ์ก็นับเป็นภิกษุณีไม่ได้หรอกครับ แค่คนแต่งตัวเลียนแบบ ไม่ใช่ภิกษุณีหรอกครับ ผมมีเรื่องจะเล่า ครั้งหนึ่งตอนทำพิธีบวช ผมเห็นพระอาจารย์ของผมท่านใช้พระเยอะมาก ผมก็สงสัยว่าทำไมถึงต้องใช้เยอะขนาดนั้นมันเกินจำนวนที่กำหนดนี่น๊า เลยถามท่านว่าทำไมใช้พระเยอะขนาดนั้น ท่านก็ตอบว่า"เราไม่รู้หรอกว่าใครปาราชิกหรือไม่หรืออาจจะติดสังฆาทิเสสมาก็ได้ เยอะไว้ก่อน เดี๋ยวไม่ครบองค์ผู้บวชจะเป็นได้แค่เณรที่มีสังฆา" ฉะนั้นเรื่องที่เล่ามาบอกได้ว่าพิธีไม่ครบไม่สมบูรณ์ก็เป็นภิกษุณีไม่ได้ เป็นได้แค่คนแต่งตัวเหมือนก็เท่านั้น โอ้ อนิจจังแท้
     
  9. พอชูเดช

    พอชูเดช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,276
    ค่าพลัง:
    +4,339
    สาธุครับ

    -มหาโมทนากับกุศลจิตทุกท่านครับ

    -เรื่องการแตกแยกทางความคิดนั้นมีมานานแล้วน่ะครับ

    เมื่อส่วนน้อยไม่ปฏิบัติตามส่วนใหญ่ก็สมควรแยกออกไปต่างหากครับ

    เราก็อาจมองว่าท่านผิด แต่ท่านก็มองว่าท่านทำถูก

    แยกออกจากกันเสียก็น่าจะจบเรื่องครับ

    สาธุ
     
  10. ประกายพลอย

    ประกายพลอย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2010
    โพสต์:
    616
    ค่าพลัง:
    +452
    ใครจะเป็นอะไร ก็เรื่องของเค้านิ

    ดีชั่ว อยู่ที่ใจของตน ผู้ที่เอามาลง

    ผูที่เอาคำโพสมาลง ก็เป็นผู้ที่สร้างกระแส

    แห่งความขัดแย้ง ขยายวง ไห้มีนกว้างออกไปอีก

    กระผมมีความคิด เห็นแบบนี้นะครับ

    หมอกฤช คอนเฟริ์ม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 มกราคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...