สมาธิที่ทำแล้วนิ่ง ตัวหาย อยู่ได้เป็นวัน ไม่หิว

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย siri63, 12 กรกฎาคม 2008.

  1. siri63

    siri63 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +0
    เราทำสมาธิแล้วนิ่งมาก การเบา ตัวหาย ไม่ได้ยินอะไรเลย ไม่หิวด้วย ในขณะนั้นรู้แต่ว่า มองเห็นตรงหน้าผากเป็นดวงแสงขาวทองปุยนุ่น นิ่งอยู่อย่างนั้นตลอดเวลา(หลับตาอยู่นะ) บางครั้งเพ่งนิ่งๆ จะเป็นเหมือนท่อปุยนุ่นยาวไปไม่มีที่สิ้นสุด จนไม่กล้าไปต่อ พระหรือคนบางคน เขาบอกว่าให้ไปตามท่อนั้นต่อไป แต่ไม่กล้าเพราะกลัว (ไม่มีความรู้เรื่องสมาธิมาก เพราะนั้งครั้งแรกก็นิ่งมากตัวหายเลย) ทุกวันนี้จะหลับตา ลืมตา แค่คิดว่านิ่งก็จะนิ่งทันที ไม่มีความคิดอื่นเลย /อยากก้าวหน้าทางเดียวกับพระพุทธเจ้าสอน ไม่ทราบว่าต้องทำอย่างไร email:sirikorn63@sanook.com ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ;8
     
  2. nuttadet

    nuttadet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,892
    ค่าพลัง:
    +6,454
    ว้าว สาธุ ครับ ไปตามท่อนั้นได้เลยครับ แต่ก่อนจะไป อธิษฐานขอบารมีพระพุทธเจ้า

    ให้คุ้มครองเราก่อนจะไปนะครับ ดวงสีขาว คล้ายๆ เป็นนิมิตกสิณครับ สามารถนำมา

    เพ่งให้เข้าสมาธิได้อย่างดีทีเดียว อาจจะเป็นของเก่าที่เคยปฏิบัติมาหน่ะครับ


    ส่วนอาการที่เล่ามา ไม่แน่ใจว่าอยู่ในฌาณขั้นไหนนะครับ แต่ถ้ามีอารมณ์เดียวรวมเป็น 1 เดียว หรือที่เรียกว่า เอกัคคตา จะเป็นอารมณ์ของฌาณ 4
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กรกฎาคม 2008
  3. rockmanxja

    rockmanxja สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +2
    ขอโมทนาด้วยนะครับ ผมว่าน่าจะเป็นกำลังสมาธิของฌาณสี่ เอามาเจริญวิปัสสนาเลยครับมีหวังได้นิพพานชาตินี้ได้ครับ
     
  4. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    สาธุครับ และการน้อมคงไว้ ไม่เข้าไปดูอะไรนั้น ดีแล้ว ประเสริฐแล้ว

    ที่ชมว่าประเสริฐ ก็เพราะทำให้ทราบว่า ผู้ภาวนานั้น มีระดับตัณหาน้อย
    ทำให้ไม่มีความอยาก เมื่อไม่มีความอยาก ก็ไม่มีความอยากรู้นู้นนี้ที่
    เป็นเรื่องไม่พ้นโลก ทำให้จิตไม่เคลื่อนออกไปจากรัตนบัลลังก์ ทำ
    ให้ได้อานิสงค์จากความสุขในฌาณมากกว่า ( ตรงนี้ทบทวนกับปจิฏสมุปบาทได้
    เพราะตัณหาจึงทำให้เกิดการหมุนวนของชาติภพไม่จบสิ้น ถ้าไม่อยาก
    ก็ไม่มีตัณหา ชาติภพก็จะจบ ไม่เกิด )

    ถ้าน้อมไปดู จะทำให้เกิดสัญญาพอกพูล อาจจะกลับออกมาฝุ้ง ฟู จิต
    จะรู้เห็นแต่เรื่องราวแปลกๆมากมาย ทำให้ติดขัด หยุดพัก ถ้าเกิด
    ความไม่ชอบใจ หรือ ชอบใจกับการเห็นด้วยแล้ว ยิ่งไปไกลทาง
    มรรคผลทีเดียว

    แต่จิตเขามีสภาพไม่เที่ยง ดังนั้น วันหนึ่งข้างหน้า ก็จะต้องมีการเคลื่อน
    เข้าไปจนได้ ก็ขอให้ดูเฉยๆ ทำใจดูเฉยๆ อย่าสงสัย อย่านึกคำถาม
    จะถาม อย่าเผลอตอบคำถามเพราะคิดว่ามีสิ่งใดมาคุยด้วย ให้ดูเฉยๆ
    ฟังเฉยๆ เห็นอะไรก็เฉยๆ ถ้าเผลอ เฉยๆไม่ได้ แปลว่า ทานบารมีต่ำ
    กับ ขันติบารมีต่ำ ยังรักตัวตนหรือมีสักกายทิฏฐิหนาอยู่นั้นเอง

    ดังนั้น เวลาออกจากสมาธิ ให้ทำวิปัสสนาต่อ ฟังดูน่าจะทำอสุภกรรม
    ฐานได้ ถ้าทำไม่ได้ ก็ระลึกดูกาย พวกกายคตา หรือไปเดินจงกรมเพื่อ
    ดูอริยาบท เพื่อให้จิตแยกออกมาเป็นผู้ดูกายเรามีกริยา มีองค์ประกอบ
    ทำให้ละสักกายทิฏฐิได้ หมั่นทำตรงนี้ เพื่อละสักกายทิฏฐิ ก็จะเป็นผู้มี
    สัมมาสติ ไม่พลั้งเผลอยินดี ยินร้าย ตอบรับ หรือ ปฏิเสธสิ่งที่เกิดขึ้น
    ระหว่างการภาวนา ที่เป็นเพียงของที่รู้ เพื่อละ ทำให้เดินตรงต่อพระนิพพาน
    ได้ โดยไม่พัก ไม่เพียรเกินไป

    ย้ำอีกทีนะครับ เห็นอะไรเห็นได้ สำคัญคือ อย่าชอบใจ หรือไม่ชอบใจ
    อย่าสงสัย อย่าเผลอหลงไปกับสิ่งที่เห็น

    แล้วสิ่งไหนทีเห็นแล้วช่วยให้เราก้าวหน้า เราจะระลึกได้ว่าเห็นในนิมิตภายหลัง

    ดังนั้น อย่าจดจำ อย่าสงสัย อย่าไปยินดี ยินร้าย ซึ่งออกจากสมาธิ แทนที่
    จะทำวิปัสสนา จะมีแต่ปุจฉา ควานหา คิดๆๆๆๆ ซึ่งการคิด คือ ภพชาติที่
    สร้างใหม่ทั้งนั้นเลย ทำให้เกิดภพชาติที่ต้องไปแก้ออกอีกบานเลย อาจทำ
    ให้วนเวียนเลยยุคพระศรีอารย์ได้ถ้าไปคิดมาก จำมาก ค้นมาก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กรกฎาคม 2008
  5. kong_sorakrit

    kong_sorakrit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,771
    ค่าพลัง:
    +3,426
  6. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    ขออนุโมทนาในกุศลบุญที่เคยสั่งสมมาด้วยดีครับ
    อาการของคุณที่เกิดขึ้นนับว่าเป้นบุญกุศลที่ดีแล้ว แต่อย่าลืมสติ ถ้าลืมสติแล้วการปฏิบัติของเราจะเสียหายมาก ไม่ก้าวหน้าและมาหลัง ขอให้ตามรู้สภาวะที่รู้เห็นอยู่นั่นละต่อไป รู้มันต่อไปเรื่อยๆ ถ้าเรามีวาสนาพอ จิตเค้าจะเดินวิปัสนาได้เอง อย่างน้อยจะมองเห็นว่า สิ่งที่ปรากฎขึ้นต่อหน้าเรานี้มันก็ไม่แน่.........เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป.......จบกิจ
     
  7. คีตเสวี

    คีตเสวี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มกราคม 2007
    โพสต์:
    980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +750
    ฌานสี่ที่ได้นี้ ถือว่าสุดทางแห่ง รูปฌานแล้วนะครับ ยินดีด้วยอย่างยิ่ง ไม่ง่ายนะครับ แสดงว่า มีบุญมารมีมาแต่เดิมพอสมควรทีเดียว

    ถ้าจะต่อทางฌาน ก็ศึกษาเรื่องอรูปฌานต่อครับ ในเวปนี้ก็มีสอนไว้ ลองศึกษาดูครับ ถ้าทำได้แล้วไม่เสียเวลาไปมาก ก็น่าลองดู

    ฌานสี่ที่ได้มีเครื่องเล่นหลายอย่าง สามารถทำปัญญาให้เกิดต่อยอดจากฌานสี่นี้ได้ เช่น ถอยออกจากฌานสี่มาฌานหนึ่ง (ที่รู้ว่าฌานหนึ่งคือเราเริ่มกลับมาคิดได้ หรือ วิตกวิจารณ์ ) แล้วอธิษฐานจิตให้เห็นสิ่งที่เราต้องการเห็น แต่ขอให้เป็นแนวทางธรรมนะครับ เช่น นรก สวรรค์ หรือ เทวดา หรือพระเกศแก้วจุฬามณี หรือครูบาอาจารย์ที่เราเคารพนับถือที่มรณะภาพไปแล้วบ้าง แล้วกลับเข้าไปรอดูที่ฌาน ๔

    การเห็นนี้สามารถประกอบปัญญาได้ว่า นรกมีจริง สวรรค์มีจริง เทวดามีจริง แต่ขออย่างเดียวว่าอย่าได้หลง หลงโดยไม่ได้เห็นจริงบ้าง เห็นแล้วติดใจชอบอยากเห็นบ่อย ๆ เป็นกิเลศใหม่พอกติดตัวบ้าง

    แต่ที่ผมบอกไป ยังไม่ใช่ทางตรงของพระพุทธเจ้านะครับ แต่เราก็ใช้ประโยชน์ของฌานสี่ในส่วนนี้ได้อย่างที่ผมบอก และยังมีประโยชน์อย่างอื่นอีก แต่ผมขอไม่อธิบายมาก เดี๋ยวจะกลายเป็นเพิ่มกิเลศให้คุณ ถ้าคุณยังไม่สามารถเข้าใจและตัดละได้เมื่อต้องการ

    สิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างสูงสุดของฌานสี่ในแนวทางของพระพุทธเจ้านั้น ฌานสี่ถือว่ามีกำลังมากที่จะนำไปใช้วิปัสสนาเกิดความรู้ความเข้าใจ ความเป็นมาเป็นไป การเกิด การดับของจิต อาการของจิตที่เคลื่อนไป สิ่งที่เข้ามาประกอบจิตหรือเรียกว่าเจตสิก การแยกแยะขันธ์ทั้ง ๕ ออกมาโดยละเอียดให้เห็นชัดด้วยปัญญา ผลของการเห็นนี้ จะนำไปสู่การเข้าใจอย่างแท้จริงของสิ่งที่เราเคยคิดว่าเป็นเราคือขันธ์ทั้ง ๕ แท้จริงไม่มีส่วนใดเลยที่ว่าเป็นเรา จะนำไปสู่การรู้ในสักกายะทิฏฐิ และทำลายวิจิกิจฉาไปได้โดยเด็ดขาด และข้ามจากโคตรปุถุชนไปสู่พระอริยะได้อย่างแท้จริง

    เมื่อมีทางตรงรอคุณอยู่แล้ว โปรดใช้ประโยชน์ในสิ่งที่ได้ให้เกิดประโยชน์ให้ได้ อย่ามัวไปเถลไถล เมื่อคุณผ่านวิปัสสนาญานนี้แล้วหลังจากข้ามโคตรปุถุชน คุณก็ยังสามารถเข้าสมาธิได้ง่ายขึ้นกว่าเดิมอีกด้วย

    อย่าไปคิดว่าถ้าข้ามโคตรแล้ว จะหมดความอยากในการทำสมาธิ มันไม่ใช่อย่างนั้นนะครับ เมื่อเราข้ามโคตรแล้วจะยิ่งเป็นประโยชน์ในทุก ๆ เรื่องไม่เว้นแม้แต่เรื่องของสมาธิ เพราะไม่ว่าเราจะทำอะไร เราจะทำอย่างเข้าใจถูกต้อง ทำให้เราทำได้ตามจริง ตามทางตรง และทำได้ง่ายกว่าภาวะก่อนที่เราจะข้ามโคตรปุถุชน

    ผมขอแสดงความยินดีกับคุณอีกครั้งนะครับ และผมก็ยินดีกับตัวผมด้วยที่วันนี้ได้พบว่ามีสหายธรรมอีกท่านหนึ่งที่ได้ก้าวหน้าทางธรรมตามๆ กันมาเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน ขอให้มีความพยายามความตั้งใจให้ดีนะครับ ไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ เราเรียนเอาปริญญาเพื่อเอาไว้ใช้ได้แค่ชาตินี้ แต่ถ้าเราได้ปริญญาทางธรรมอย่างที่เรากำลังศึกษากันอยู่นี้ จะนำไปใช้ตัดภพชาติในสังสารวัฏของเราได้ครับ ตอบยาวมากเกินไปแล้วครับ ส่วนแสงขาว ๆ ที่เป็นปุยนั้น ผมใช้เป็นตัวนำเข้ากัมมัฏฐานอยู่นะครับ เอาไว้วันหลังถ้ามีโอกาสจะได้คุยกันเรื่องนี้นะครับ ขอฝากคติธรรมข้อคิดไว้ให้คุณได้พิจารณานะครับ

    บางคนเกิดขึ้นมาเพื่อพบกับความทุกข์ แล้วก็ตายจากโลกนี้ไปเพื่อที่จะมาเกิดแล้วพบกับทุกข์ครั้งใหม่ ไม่รู้จักจบจักสิ้น ไม่รู้จะอีกกี่กัปป์กัล
    แต่บางคนโชคดีกว่า ที่ได้เกิดมาพบกับพระพุทธศาสนา ได้ฟังธรรม ปฏิบัติธรรม เข้าใจในธรรม จนพาตนออกจากสังสารวัฏได้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กรกฎาคม 2008
  8. กิดากร

    กิดากร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    264
    ค่าพลัง:
    +1,046
    เป็นฌาน จริงเหรอครับ เคยได้ยินว่า พ่อแม่ครูบาอาจารย์ สอนไว้ว่า ถ้าเกิดสมาธิจริง ๆ ในระดับใด ต้องเกิดที่เค้าเรียกว่า ตัวรู้ เกิดขึ้นมาด้วย แต่นี่ผมไม่แน่ใจว่าเค้ารู้ไหมนะ แต่ตัวกระผมเองก็ยังไปไม่ถึงขั้นนั้นก็เลยเริ่มจะ งง และ ว่าอะไรกันแน่ แล้วตกลงมันต้องเกิด ตัวรู้ ไหม ?? ท่านใดมีประสบการณ์เกี่ยวกับ ตัวรู้ แนะนำทีครับ
     
  9. Saint Telwada

    Saint Telwada สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2008
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +5
    ข้าพเจ้าจะแนะนำคุณอย่างหนึ่งว่า
    ก่อนจะทำสมาธิ หรือปฏิบัติ สมาธิ ต้องรับประทานอาหาร น้ำ ให้อิ่ม และค่อยฝึก ค่อยปฏิบัติ

    แล้วก็อย่าคิดหรือหลงคิดว่า นั่งสมาธิแล้วไม่หิว ก็เลยไม่กินข้าวน้ำ ถ้าทำอย่างนั้นบ่อยๆ โรคกระเพาะ กับโรคมะเร็ง ถามหาคุณเลยละขอรับ
     
  10. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    คำว่า ตัวรู้ นั้น จะมีความแตกต่างอยู่ 3 ประเด็น ที่ทำให้สับสน

    ความสับสนนี้ไม่ใช่เรื่องที่หมายเอาว่าผิด เป็นเพียงเรื่องของการ
    หยิบยืมคำมาใช้ อย่างเช่น คำว่า ตา ที่มีหลายความหมาย

    ตัวรู้ ในทางวิปัสสนา จะหมายถึง กริยา เป็นการรู้สึก การรู้สึกนั้นจะต่าง
    จากการคิด หรือกำหนดรู้ เพราะคิด หรือ กำหนดรู้ จะให้ความเข้าใจแก่
    เราในรูปแบบของภาษา แต่การ รู้ ในทางวิปัสสนาจะเป็นอาการรู้ ที่ยัง
    ไม่ให้ค่า หรือ ให้คำพูดออกมา

    ตัวรู้ ในทางวิปัสสนาควบสมาธิ จะหมายถึงสภาวะคงอยู่ด้วยอำนาจของ
    สมาธิทำให้เกิดการแยกการรู้สึก แยกตัวอยานตนะออกมาจากภาวะปรกติ
    เช่น เหมือนออกมาดูตัวเองอยู่ข้างนอก เหมือนเห็นอะไรในนิมิตโดยเห็น
    เรากำลังเป็นผู้เห็นนิมิต เหมือนเราเห็นกายของเราเดินได้เอง เหมือนเห็น
    จิตของเราทำงานได้เอง แบบนี้คือ ตัวรู้ที่เกิดจากการรู้แบบวิปัสสนาควบ
    สมาธิ

    ตัวรู้ ในทางสมาธิล้วนๆ จะหมายถึงการจมไปกับสภาวะสมาธิ ไหลไป
    ตามความต้องการจะหมายเห็น ( ปฏิภาคนิมิต ) หรือ ความต้องการจะจม
    ดิ่งลงไปในสมาธินั้นๆ ก็เรียกว่าเข้าฌาณ ก็จะเห็นนิมิตเป็นเบื้องหน้าเต็มทัศนะ
    แต่จะไม่เห็นอาการ หรือเหตุการไปการมาของนิมิตนั้นๆ ก็คล้ายกับการที่
    เราจมไปการตรึกนึกคิดซึ่งจะให้ความรู้ในทางปรมัตถ์ของสมาธินั้นๆ ออกมา
     
  11. nuttadet

    nuttadet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,892
    ค่าพลัง:
    +6,454
    ฌาณจริง ไม่จริง ลองทำเองดีกว่าครับ แล้วจะได้รู้เองครับ
     
  12. rockmanxja

    rockmanxja สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +2
    ผมเห็นด้วยครับลองทำเองเลยดีกว่าจะได้รู้ไปเลยว่า "ตัวรู้" มันเป็นยังไง
     
  13. พรตเรือนญาณเมตไตรย

    พรตเรือนญาณเมตไตรย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    97
    ค่าพลัง:
    +111
    สาธุด้วยครับ ผมนั่งสมาธิมานาน จิตยังไม่นิ่งเลยครับ แต่คุณเริ่มทำก็ ได้ฌาณ แล้ว พยายามต่อไปนะครับ อาจจะบรรลุนิพพานชาตินี้เลยล่ะครับ ขออนุโมทนา ครับ
     
  14. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    อาการของจิตส่งออกนอก ที่ทำให้เหมือน ลืมตัว ไม่หิว

    เด็กๆ สมัยใหม่คงเคยเล่นเกมส์ ติดเกมส์ ตอนที่เราเล่นเกมส์นั้น
    จิตจะได้สมาธิเป็นของแถม ถ้าเล่นได้ดี เล่นได้แจ่มมากกว่าแพ้
    จะทำให้สุข จริงๆ มีปิติด้วย เช่น ตัวเกร็ง ตัวหนัก ตัวเบา น้ำตาไหล
    แต่ว่า ไม่ได้สนใจอาการปิติ ทำให้เลยมาขั้น สุข ได้

    แต่เนื่องจากเป็นการฝึกสมาธิ ที่เอาจิตจับไว้ที่ จอบ้าง ไว้ที่จอยสติกบ้าง
    ทำให้จิตอยู่นอกๆ เมื่อจิตอยู่นอกๆ มันจึงไม่ย้อนมาดูกาย ดูใจที่กำลัง
    หิว แต่พอมีสุข กับปิติ ซึ่งเป็นอาหารของจิต ทำให้เกิดภาวะอิ่มใจ ทำให้
    ลืมหิวไป

    ก็สรุปว่า การเล่นเกมส์นั้นจะทำให้เกิดองค์ฌาณเหมือนทำสมาธิ ทำให้เกิด
    สภาวะธรรมแบบทำสมาธิได้ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ ไม่เอื้อต่อการมีปัญญาแบบ
    พุทธ

    แต่ถ้าตอนเลิกเล่นเกมส์ หรือ ตอนถอยจากสมาธิ ดูสภาวะสุขใจ กับปิติมัน
    คลายตัวไป ระลึกถึงความทนอยู่ไม่ได้ของสุข แบบนี้จะทำให้เกิดปัญญาได้
    ทำให้เบื่อ เห็นความไม่เที่ยงจากความสุขที่ได้จากการเล่นเกมส์ ก็จะทำให้
    ละจาก มิจฉาสมาธิออกมาได้ในที่สุด

    ถ้าคุณแน่ อย่าแพ้เด็กเล่นเกมส์ รู้ทันกาย รู้ทันใจ
     
  15. azalia

    azalia เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    626
    ค่าพลัง:
    +579
    ขออนุโมทนาค่ะ ... มีบุญเก่าสั่งสมมาดีแล้ว
    หากปรารถนาสายตรง มุ่งสู่ "นิพพาน" จงอย่าหลงในฌาณและความสุขสงบในฌาณ
    ถอนจิตออกมาในขั้น ขณิกสมาธิ ... พิจารณารู้ กาย..เวทนา หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับใจ ภาวะจิต และธรรมที่เกิดขึ้นในจิต ...
    คือ วิปัสสนากรรมฐาน ซึ่งเป็นสายตรงที่เกิดปัญญา ถอดถอนกิเลสโดยตรง
    ถ้าเราพิจารณาแบบนี้ เราจะเห็นตัวเรา ... ในมุมที่เราไม่เคยเห็น
    เช่น เสียงกระทบหู ...ได้ยินแล้ว ความทรงจำทำงานรับรู้แปลความหมายว่าเป็นเสียงอะไร...จากนั้นจิตจะปรุงแต่งว่าชอบไม่ชอบ...
    เห็นขบวนการทำงานของจิตเมื่อได้รับการกระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ...
    เห็นบ่อยๆ ...ในที่สุดเราก็จะรู้ว่า...ตัวตนเราถูกเร้าด้วยอะไรบ้าง...ยึดติดกับอะไร
    และวันหนึ่งเราจะเบื่อหน่าย ในการเห็น ...จนลดละได้...
    เพราะเกิดปัญญารู้ว่า...เรายึดเหนี่ยวอะไรอยู่...เป็นการปล่อยวางถาวร
    ไม่ใช่ปล่อยวางชั่วคราว เพราะการสงบจากสมาธิ...

    ถ้าเราเข้าฌาณ ตัดความรับรู้ใดๆ... เราก็มีแต่สุขสงบ ...อาจได้อภิญญา ถอดกายทิพย์
    ไปรู้ในสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ หลงใหลในฤทธิ์อำนาจที่ตนเองมี ...บางทีเกิดความลืมตัว หลงในฤทธิ์ที่ได้
    พอถอนจิตออกจาฌาณ ... ก็สุขสงบได้ชั่วขณะหนึ่ง
    เมื่อเจอเหตุการณ์จริงในโลก...ได้รับกระทบกระทั่งทางกาย-วาจา-ใจ
    เราก็ยังเหมือนเดิม...อาจสงบระงับกิเลสได้ชั่วครู่ชั่วยามเหมือนก้อนหินทับหญ้าเอาไว้
    แต่วันหนึ่ง...เมื่อก้อนหินนั้นออก...หญ้า (กิเลส) ก็งอกขึ้นเหมือนเดิม ...อาจมากกว่าเดิมด้วยซ้ำ
    แนะนำว่า...หากปรารถนาปัญญาหลุดพ้นจากทุกข์...ให้หาครูบาอาจารย์สายวิปัสสนากรรมฐาน
    แต่หากปรารถนา อภิญญา...ความสุขสงบ และพิสูจน์เรื่องเหนือธรรมชาติ ก็หาครูบาอาจารย์สายสมถะกรรมฐาน ซึ่งแตกย่อยออกไปตามจริตอีกทีค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กรกฎาคม 2008
  16. นายวีระศักดิ์ ท

    นายวีระศักดิ์ ท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กันยายน 2006
    โพสต์:
    309
    ค่าพลัง:
    +1,003
    อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ ครับ แต่ละความเห็นแนะนำดี น่าจะเป็นประโยชน์และผู้ถามนำไปต่อยอดได้ ผมขอเพิ่มนิดหนึ่งขอให้ไปศึกษาเรื่องวิปัสสนูปกิเลส 10 อย่างด้วยครับ ถึงตอนนี้แล้วคุณต้องศึกษาแล้วครับ
     
  17. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ทางเดินตามคำสั่งสอนขององค์พระศาสดา ล้วนแต่ทรง ให้ผู้ปฎิบัติรู้จักที่มาของเหตุแห่งการปฏิบัติ และ ที่มาของผลปฏิบัติ ถ้าหากผู้ใด ศึกษารู้อยู่แต่ผลของการปฏิบัติเพียงอย่างเดียว ไม่ค้นคว้าหาถึงเหตุแห่งการเกิดของจิต แล้วผู้นั้นย่อมเดินหลงทาง อนุโมทนาด้วยครับ กลับผู้ปฏิบัติได้
     
  18. วิทย์

    วิทย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    2,036
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,439
    ก็ฝึกฝนต่อไปเรื่อยๆครับ สมาธิก็ทำไปเรื่อยๆ ประกอบกับใช้ปัญญาพิจารณา สังเกตสิ่งต่างๆไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวทางโลก บุคคล วัตถุ สิ่งของ ต่างๆ รวมทั้งสภาวะของสมาธิที่ตนได้รับด้วย ให้เห็นตามความเป็นจริง (มองผ่านทะลุสมมติไปให้ได้) พิจารณาทุกสิ่งตั้งแต่ภายนอกจนเข้ามาถึงภายในให้เห็นเป็นองค์รวมแล้วนำมาหลอมรวมแทงตลอดในสรรพสิ่งให้ทะลุทะลวงอย่างละเอียดในที่สุดครับ
     
  19. iofeast

    iofeast เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    4,174
    ค่าพลัง:
    +7,815
    ไม่ส่งจิตออกนอก มันก็ไม่หิวไม่อยากไปเองเป็นอัติโนมัติจ๊ะ หุ หุ หุ
     
  20. pongdoo

    pongdoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    247
    ค่าพลัง:
    +106
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 12"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 12"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cadmin%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cadmin%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cadmin%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" Name="Normal (Web)"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"MS Sans Serif"; panose-1:0 0 0 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-alt:"Times New Roman"; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:auto; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} p {mso-style-unhide:no; mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Tahoma","sans-serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:44.95pt 19.3pt 35.95pt 45.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]-->
    การเจริญวิปัสสนาในชีวิตประจำวัน<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]1.) [/FONT]เมื่อมีเวลาว่าง[FONT=&quot] [/FONT]ให้พยายามทบทวนเรื่องราวที่เกิดขึ้นในชีวิต[FONT=&quot] [/FONT]ตั้งแต่จำความได้[FONT=&quot] [/FONT]จนกระทั่งถึงปัจจุบัน ทบทวนไปช้า ๆ ไม่ต้องรีบร้อน และพยายามทบทวนถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้น[FONT=&quot] [/FONT]ในขณะที่เหตุการณ์นั้น ๆ[FONT=&quot] [/FONT]กำลังเกิดขึ้นให้ได้ เมื่อจำเหตุการณ์นั้นได้ชัดเจนดีแล้ว ก็ให้ทำใจให้เป็นกลางที่สุด[FONT=&quot] [/FONT]ปราศจากอคติความลำเอียงใด ๆ[FONT=&quot] [/FONT]ทำตัวเป็นผู้พิพากษาที่เที่ยงธรรมที่สุด แล้วพิจารณาเหตุการณ์นั้น ๆ ให้ลึกซึ้ง[FONT=&quot] [/FONT]ละเอียดละออ[FONT=&quot] [/FONT]มองในทุกแง่ทุกมุม ให้เห็นว่าเหตุการณ์นั้น ๆ ทำให้เราเป็นสุขอย่างไรบ้าง[FONT=&quot] [/FONT]มากน้อยแค่ไหน ทำให้เราเป็นทุกข์อย่างไรบ้าง มากน้อยแค่ไหน[FONT=&quot] [/FONT]และสุขที่ว่านั้นมีทุกข์เคลือบแฝงอยู่ด้วยหรือเปล่า[FONT=&quot] [/FONT]หรือทุกข์ที่ว่านั้นมีสุขเคลือบแฝงอยู่ด้วยหรือเปล่า และเหตุการณ์นั้น ๆ[FONT=&quot] [/FONT]ส่งผลถึงชีวิตในเวลาต่อมาให้เป็นสุขหรือทุกข์บ้างหรือไม่ อย่างไรกล่าวโดยสรุปก็คือให้มองให้เห็นชัดเจนด้วยตัวเองว่า[FONT=&quot] [/FONT]ความสุขที่ได้รับมาจากเหตุการณ์นั้น ๆ กับความทุกข์ที่ต้องเผชิญมันคุ้มกันหรือไม่[FONT=&quot] [/FONT]การกระทำของเราในขณะนั้น เป็นไปตามความปรารถนาของเราอย่างแท้จริง[FONT=&quot] [/FONT]หรือว่าเราควบคุมมันไม่ได้[FONT=&quot] [/FONT]ความสุขความทุกข์นั้นอยู่กับเราได้นานเพียงใดการพิจารณานั้น ในช่วงแรกก็พิจารณากว้าง ๆ[FONT=&quot] [/FONT]โดยแบ่งช่วงพิจารณาเป็นวัยเด็ก[FONT=&quot] [/FONT]ชีวิตการเรียน การทำงาน ความรัก การมีครอบครัว การมีลูก การทำสมาธิ ฯลฯ ([FONT=&quot] [/FONT]โดยเฉพาะความรัก และการมีครอบครัวนั้น[FONT=&quot] [/FONT]ให้พิจารณาให้ลึกซึ้งทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด[FONT=&quot] [/FONT]เพราะพระพุทธเจ้าเปรียบเทียบความสุขทางโลกว่า เหมือนการกินอ้อยจากโคนไปหาปลาย[FONT=&quot] [/FONT]คือเริ่มต้นจะหอมหวาน[FONT=&quot] [/FONT]แต่ยิ่งนานวันก็ยิ่งจืดชืด ดังนั้น ถ้าพิจารณาเฉพาะตอนที่หอมหวาน[FONT=&quot] [/FONT]ก็ย่อมจะไม่ได้ข้อมูลที่ถูกต้องแท้จริง )เมื่อพิจารณากว้าง ๆ แล้ว ก็ค่อย ๆ[FONT=&quot] [/FONT]พิจารณารายละเอียดในแต่ละเหตุการณ์ต่อไป[FONT=&quot] [/FONT]โดยพิจารณาเหตุการณ์ที่ประทับใจมาก ๆ ก่อน[FONT=&quot] [/FONT]เมื่อพิจารณาได้มากพอสมควรแล้ว ก็จะเห็นได้ด้วยความรู้สึกของเราอย่างแท้จริง[FONT=&quot] [/FONT]ว่าชีวิตนี้เป็นสุขหรือทุกข์กันแน่ มีสาระมากน้อยเพียงไหน[FONT=&quot] [/FONT]น่าปรารถนาน่ารักน่าใคร่เพียงใดที่สำคัญคือต้องทำใจให้เป็นกลาง[FONT=&quot] [/FONT]อย่าตัดสินไว้ล่วงหน้าก่อนว่าจะต้องเป็นสุขหรือทุกข์[FONT=&quot] [/FONT]หรือเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ และต้องมองให้ลึกซึ้งทุกแง่ทุกมุม[FONT=&quot] [/FONT]เช่น[FONT=&quot] [/FONT]ความสำเร็จความภาคภูมิใจในอดีต ถ้าภายหลังทำไม่ได้[FONT=&quot] [/FONT]หรือมีใครมาพูดให้กระทบกระเทือนถึงความภาคภูมิใจอันนั้น[FONT=&quot] [/FONT]ทำให้ต้องสูญเสียความภาคภูมิใจนั้นไป ก็อาจทำให้เราเป็นทุกข์อย่างมากมายก็ได้[FONT=&quot] [/FONT]อย่ามองแง่เดียว เพราะสิ่งที่มีคุณอนันต์ก็มักจะมีโทษมหันต์เช่นกัน[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]2.) [/FONT]ก่อนนอนทุกคืนควรพิจารณาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดวันนี้ทั้งวัน[FONT=&quot] [/FONT]โดยพิจารณาทำนองเดียวกันกับการพิจารณาในข้อ [FONT=&quot]1.) ( [/FONT]ข้อ [FONT=&quot]1. [/FONT]และข้อ [FONT=&quot]2. [/FONT]นี้อาศัยหลักการของบุพเพนิวาสานุสติญาณ[FONT=&quot] [/FONT]ในวิชชา [FONT=&quot]3 [/FONT]เพียงแต่เมื่อระลึกชาติในอดีตไม่ได้[FONT=&quot] [/FONT]ก็ต้องพิจารณาเฉพาะในชาติปัจจุบันเท่าที่จะระลึกได้เท่านั้น )[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]*** 3.) [/FONT]ในชีวิตประจำวันก็ขอให้คอยสังเกตความรู้สึกที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ๆ[FONT=&quot] [/FONT]ให้มากที่สุด[FONT=&quot] [/FONT]เท่าที่จะทำได้ ถ้าเผลอไปก็ไม่เป็นไร พยายามสังเกตให้ได้มากที่สุด[FONT=&quot] [/FONT]จนเคยชินเป็นนิสัย มีสติรู้ทันความรู้สึกตลอดเวลา[FONT=&quot] [/FONT]ที่สำคัญคือ[FONT=&quot] [/FONT]การสังเกตนั้นเพื่อศึกษาธรรมชาติของร่างกายของจิตใจของเราเองว่า[FONT=&quot] [/FONT]มีสุขมีทุกข์มากน้อยเพียงใด แปรปรวนไปได้อย่างไรบ้าง บังคับได้หรือไม่ได้[FONT=&quot] [/FONT]อยู่ในอำนาจหรือไม่[FONT=&quot] [/FONT]ไม่ใช่สังเกตเพื่อจะบังคับหรือเพื่อจะข่ม[FONT=&quot] [/FONT]หรือจะลองบังคับมันดูก็ได้ แล้วก็จะรู้เองว่ามันอยู่ในอำนาจหรือเปล่า[FONT=&quot]
    *** [/FONT]หรืออีกนัยหนึ่งก็คือพยายามหา "เรา"[FONT=&quot] [/FONT]ให้เจอ[FONT=&quot] ([/FONT]คือหาว่าสิ่งที่ท่านรู้สึกว่าเป็นเรานั้นอยู่ตรงไหน หรือคืออะไร[FONT=&quot] [/FONT]เช่น อาจจะรู้สึกว่า สมอง หรือ หัวใจ กระดูก ร่างกายทั้งหมด จิต ความรู้สึก ความคิด[FONT=&quot] [/FONT]ความจำ ฯลฯ คือเรา หรือ เป็นเรา) เมื่อเจอ "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]แล้ว[FONT=&quot] [/FONT]ก็คอยดู คอยสังเกต "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]นั้นไปเรื่อยๆ[FONT=&quot] [/FONT]ทั้งเวลาที่ทำกรรมฐาน และเวลาที่ใช้ชีวิตประจำวันตามปกติ[FONT=&quot] [/FONT]ตั้งแต่ตื่นนอนจนถึงเข้านอน จนกระทั่งหลับไปในที่สุด[FONT=&quot] [/FONT]คือรู้ตัวเมื่อไหร่ก็สังเกตเมื่อนั้น แล้วสิ่งที่ท่านคิดว่าคือ "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]นั้น[FONT=&quot] [/FONT]ก็จะแสดงธรรมชาติที่แท้จริงให้เห็นมากขึ้นเรื่อยๆแล้วท่านก็จะรู้ได้ด้วยตนเองว่าสิ่งนั้นสมควรจะถูกเรียกว่า "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]หรือ[FONT=&quot] "[/FONT]ของๆ เรา[FONT=&quot]" [/FONT]หรือ "ตัวตนของเรา[FONT=&quot]" [/FONT]หรือไม่[FONT=&quot] [/FONT]สิ่งนั้นควรค่าแก่การยึดมั่นถือมั่นหรือไม่เมื่อสังเกตมากขึ้นเรื่อยๆ[FONT=&quot] [/FONT]แล้ว บางครั้ง "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]ก็อาจจะย้ายจุดไปอยู่ที่อื่น (เช่น[FONT=&quot] [/FONT]เดิมรู้สึกว่าจิตคือเรา ต่อมากลับรู้สึกว่าความจำต่างหากที่เป็นเรา[FONT=&quot] [/FONT]ต่อมาก็อาจย้ายไปที่จุดอื่นอีก ฯลฯ) ถ้าความรู้สึกว่าเป็น "เรา"[FONT=&quot] [/FONT]ย้ายไปอยู่ที่จุดอื่น ก็ย้ายจุดในการดู ในการสังเกต ตาม "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]นั้นไปเรื่อยๆ จนกว่าจะหา "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]ไม่เจอในที่สุดลองคิดดูให้ดีเถิดว่า[FONT=&quot] [/FONT]สิ่งที่ไม่เที่ยง แปรปรวนไปตลอดเวลา นำทุกข์มาให้สารพัดอย่าง ไม่อยู่ในอำนาจ[FONT=&quot] [/FONT]ไม่เป็นไปตามที่ใจปรารถนา เอาแน่อะไรไม่ได้ คาดหวังอะไรไม่ได้เลย ฯลฯ[FONT=&quot] [/FONT]นั้นสมควรหรือที่จะเรียกว่าเป็น "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]หรือ "ของๆ เรา[FONT=&quot]" [/FONT]หรือ "ตัวตนของเรา[FONT=&quot]"
    [/FONT]ถ้าจะถือว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็น "เรา[FONT=&quot]" [/FONT]แล้ว อย่างน้อยสิ่งนั้นก็ควรจะอยู่ในอำนาจ[FONT=&quot] [/FONT]และเป็นไปตามที่ใจปรารถนาได้ตลอดเวลาไม่ใช่หรือ[FONT=&quot] [/FONT]ไม่ใช่แค่บางครั้งก็บังเอิญได้เหตุปัจจัยที่เหมาะสมก็เป็นอย่างที่ต้องการ[FONT=&quot] [/FONT]แต่ถ้าไม่บังเอิญอย่างนั้นก็กลับกลายเป็นอย่างอื่น เช่น เมื่อมีเหตุให้สุขก็สุข[FONT=&quot] [/FONT]มีเหตุให้ทุกข์ก็ทุกข์ มีเหตุให้โกรธก็โกรธ มีเหตุให้ดีใจก็ดีใจ[FONT=&quot] [/FONT]มีเหตุให้เสียใจก็เสียใจ มีเหตุให้ป่วยก็ป่วย ฯลฯ ทั้งที่ไม่ได้อยากจะให้ทุกข์[FONT=&quot] [/FONT]ให้โกรธ ให้เสียใจ ให้เจ็บป่วย ฯลฯ เลยสักนิดเดียว<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]4.) [/FONT]ในเวลาทำกรรมฐาน[FONT=&quot] [/FONT]ขณะทำสมาธิก็คอยสังเกตจิต หรือสังเกต "เรา" เป็นระยะๆ[FONT=&quot] [/FONT]ทำนองเดียวกับข้อ [FONT=&quot]3.) [/FONT]ซึ่งจะเป็นการเจริญสมถะควบคู่กับวิปัสสนา[FONT=&quot] [/FONT]และเมื่อคิดว่าทำสมาธิมากพอแล้ว[FONT=&quot] [/FONT]ก็เปลี่ยนจุดยึดของจิตจากจุดที่ยึดไว้ในขณะทำสมาธิ มาเป็นการเพ่งจิตไปสำรวจตามจุดต่าง ๆ ของร่างกาย[FONT=&quot] [/FONT]แล้วพิจารณาจุดนั้นให้ละเอียด ว่าจุดนั้น ๆ นำความสุขอะไรมาให้เราบ้าง[FONT=&quot] [/FONT]และจุดเดียวกันนั้นนำความทุกข์อะไรมาให้เราบ้าง[FONT=&quot] [/FONT]ไม่ว่าจะเป็นในขณะปัจจุบันหรือในอดีตใหม่ ๆ[FONT=&quot] [/FONT]ก็แบ่งเป็นรูปกับนามและพิจารณาในปัจจุบันก่อน จากนั้นจึงพิจารณาละเอียดขึ้นเป็นรูป[FONT=&quot] [/FONT]เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แล้วพิจารณาละเอียดขึ้นอีกเป็นผม ตา ปาก จมูก แขน ขา มือ[FONT=&quot] [/FONT]เล็บ เท้า กระเพาะ ลำไส้ ฯลฯ ต่อไปเรื่อย ๆ[FONT=&quot] [/FONT]ตามความชำนาญและความรู้แจ้งที่เกิดขึ้นเมื่อพิจารณาปัจจุบันจนชำนาญหรือชัดเจนแล้ว[FONT=&quot] [/FONT]ก็พิจารณาถึงอดีตต่อไป[FONT=&quot] [/FONT]ว่าอวัยวะนั้น ๆ เคยนำสุขนำทุกข์อะไรมาให้บ้าง[FONT=&quot] [/FONT]ยึดมั่นสิ่งใดมากก็พิจารณาสิ่งนั้นก่อน[FONT=&quot] [/FONT]พิจารณาอดีตบ้าง[FONT=&quot] [/FONT]ปัจจุบันบ้างจนเห็นแจ้งทั้งในอดีตและปัจจุบัน ลองพิจารณาให้ดีเถิดว่ารูปนี้ นามนี้[FONT=&quot] [/FONT]อวัยวะเหล่านี้[FONT=&quot] [/FONT]มีสิ่งใดที่ไม่นำทุกข์มาให้เราบ้าง[FONT=&quot] [/FONT]มีสิ่งใดที่อยู่ในอำนาจบ้าง มีสิ่งใดที่คงทนถาวร ไม่แปรปรวนไปตามเหตุตามปัจจัยบ้าง[FONT=&quot] [/FONT]มีสิ่งใดที่ควรค่าแก่การยึดมั่นถือมั่นบ้าง สิ่งเหล่านี้ควรหรือที่จะคิดว่าเป็นเรา[FONT=&quot] [/FONT]เป็นของของเรา เป็นตัวเป็นตนของเรา[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]5.) - [/FONT]เมื่อเห็นทุกข์เห็นโทษของสิ่งใดแล้ว[FONT=&quot] [/FONT]ความยินดีรักใคร่ ความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งนั้น ๆ ก็จะลดลงไปเอง นั่นคือกามฉันทะก็จะมารบกวนเราน้อยลงไปเรื่อย ๆ[FONT=&quot]- [/FONT]เมือเห็นว่าสิ่งทั้งปวงไม่อยู่ในอำนาจของใคร[FONT=&quot] [/FONT]ทั้งหมดล้วนเป็นไปตามเหตุตามปัจจัย[FONT=&quot] [/FONT]หรือเมื่อความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งเหล่านั้นลดลงไปแล้ว ความขัดเคืองใจเพราะสิ่งนั้น[FONT=&quot] [/FONT]ๆ และความยินดีรักใคร่ในสิ่งนั้น ๆ ก็จะลดลงไปเอง นั่นคือ[FONT=&quot] [/FONT]ปฏิฆะ และกามฉันทะ[FONT=&quot] [/FONT]ก็จะมารบกวนเราน้อยลงไปเรื่อย ๆ[FONT=&quot]- [/FONT]เมื่อเห็นสิ่งต่าง ๆ[FONT=&quot] [/FONT]ด้วยความรู้แจ้งของเราเองอย่างแท้จริงแล้ว[FONT=&quot] [/FONT]ความเคลือบแคลงลังเลสงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ก็ย่อมจะหมดไป นั่นคือวิจิกิจฉาก็จะน้อยลงไปเรื่อย ๆถ้ามีความเพียรทำตามวิธีการเหล่านี้เรื่อยไปไม่ท้อถอยแล้ว[FONT=&quot] [/FONT]ไม่ช้าก็จะเข้าถึงแก่นของศาสนาได้เอง และจะได้พบกับความสุขที่ไม่อาจหาได้จากทางโลก[FONT=&quot] [/FONT]ไม่อาจหาได้จากสมาธิ ไม่สามารถซื้อได้ด้วยเงิน เป็นความสุขที่เกิดจากการที่จิตคลายความยึดมั่นในสิ่งทั้งปวงลงไป[FONT=&quot] [/FONT]เป็นความสุขที่ไม่มีทุกข์เจือปน[FONT=&quot] [/FONT]ไม่ต้องอาศัยเครื่องล่อใด ๆ ทั้งสิ้น[FONT=&quot] [/FONT]เป็นความสุขที่เกิดจากการที่จิตไม่หวั่นไหวไปตามอารมณ์ต่าง ๆ ที่มากระทบ[FONT=&quot] [/FONT]สามารถสงบอยู่ได้แม้ท่ามกลางพายุร้าย<o:p></o:p>
    หมายเหตุ[FONT=&quot] [/FONT]ในการเจริญวิปัสสนานั้น[FONT=&quot] [/FONT]ข้อที่สำคัญและทำให้ปัญญาเกิดได้มากที่สุดก็คือข้อ [FONT=&quot]3.)[/FONT]<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
     

แชร์หน้านี้

Loading...