เสียงธรรม อมฤตธรรม / หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร [Samadhi Meditation Techniques]

ในห้อง 'สมาธิ - พระกรรมฐาน' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 7 กันยายน 2017.

  1. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    สาขาสถาบันพลังจิตตานุภาพในประเทศไทย

    1. 1 บ้านอาจารย์อำนวย สุวรรณคีรี บางกะปิ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      099-364-7893
      ดร.ประชัน ชะชิกุล
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      2 วัดพุทธบูชา บางมด กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      02-874-8108
      081-651-4237
      อ.สมศักดิ์ ชื่นชัยธรรม
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      4 วัดสิริกมลาวาส ถ.ลาดพร้าววังหิน กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      02-570-8281
      081-910-5996, 087-8021777
      อ.ปริศนา ไกรวิทย์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      8 อาคารไอทาวเวอร์ วิภาวดี-รังสิต กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      02-554-9902
      089-201-5465
      อ.ชัยศิริ เศรษฐบุตร
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      9 วัดวิมุตยาราม (บ้านบรรณรุจิ) กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      02-880-1742
      089-665-2323
      อ.บรรจบ-อ.นันทนา บรรณรุจิ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      10 วัดผ่องพลอย สุขุมวิท 105 กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-558-8017
      อ.สุวิทย์ หาญเมธีคุณา
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      14 บ้านปิยะธรรม สุขุมวิท 81 กรุงเทพมหานคร
      098-585-8551
      02-332-5827
      อ.สิริเพ็ญ จินากุล
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      25 อโศก - สุขุมวิท (อาคารลาส โคลินาส) กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-341-3355
      อ.ศิวะ แสงมณี
      093-641-9995
      อ.พันตรีหญิง สุรัสวดี ร้อยพุทธ (ผช.ผดล.)
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      26 พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      084-459-1100
      อ.อรทัย ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      28 กลอรี่เฮ้าส์ พระราม 9 กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-174-4209
      089-818-1998
      089-897-3776
      086-626-0456
      อ.อุสา -พงษ์ศักด์ ธีรนิพัทธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      30 โรงเรียนวชิรมกุฏ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      085-145-2590
      อ.พัชรศรัณย์ หมีกุละ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      33 มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ หนองแขม กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      089-992-6816
      อ.จุติพงษ์ วงศ์วิวัฒน์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      34 สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-350-0922
      อ.พิศาล จอโภชาอุดม
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      35 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บางซื่อ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      084-129-5585
      อ.รศ.ดร.มนต์ชัย เทียนทอง
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      37 โรงเรียนอนุบาลพุทธชาด บางกะปิ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      062-918-8552
      ดร. อุสิรา อโนมะศิริ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      39 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      085-122-3803
      อ.ผุสดี รอบรู้
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      41 อาคารทิสโก้ ทาวเวอร์ ถนนสาทรเหนือ กรุงเทพมหานคร
      080-231-9999
      อาจารย์ พรรณี จารุสมบัติ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      46 อาคาร วี. เอส. เคมเฮ้าส์ รองเมือง กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      02-214-3446-7 ต่อ 3500
      081-612-0775
      087-055-4007
      อ.พรพรรณ มรรคผล
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      47 บริษัท ซีฟโก้ จำกัด (มหาชน) ถนนพระยาสุเรนทร์ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      02-919-0090 ต่อ 203, 220,100
      081-985-1669
      อ. ณรงค์ ทัศนนิพันธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      49 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-646-7518
      อ.ธีระ สุวรรณกุล
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      52 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      02-326-4386
      02-326-4662
      081-985-1669
      อ. ณรงค์ ทัศนนิพันธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      63 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      089-203-9177
      อ. มะลิวัลย์ ฉวีสุข
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      79 วิศวกรรมสถานฯ (วสท.) กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-844-1322
      อ.รศ.ดร.วันชัย เทพรักษ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      92 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
      081-819-2083
      อ.ประพีร์ บุรี
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      100 ซีฟโก้ 2-ทวีมิตร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      086-8842882
      อ.วชิราวัลย์ มหพรภัสสร์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      119 วัดอาวุธวิกสิตาราม กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      085-239-6336
      อ. น.ท.สมพงษ์ กาญจนเสถียร
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      122 โรงงานยาสูบ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-932-9947
      อ.สมฤดี วัฒนาวงศ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      127 โรงเจ เปา ฮก เก็ง 327/7-8 ริมคลองมอญฯ ต.วัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
      095-982-2964,02-411-4603
      อ.ดวงกมล ชลสายพันธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      128 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
      081-496-0136
      ร.ศ.ภาณิดา มาประเสริฐ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      130 TIMES SQUARE กรุงเทพมหานคร
      081-816-4050
      อ.วรรณรัชต์ ยงเกียรติไพบูรณ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      134 กลุ่มบริษัทปตท. 555 เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร B ชั้น 12 สถาบันพัฒนาผู้นำและการเรียนรู้ ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพมหานคร
      081-356-6495, 081-989-1444
      gwyn85@hotmail.com
      อ.กวิน ทรัพย์สุนทร
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      135 วัดปุรณาวาส แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร
      081-849-4624,083-017-8131
      อ.อรนารถ เตชะสุริยะมณี
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      144 ชัชรีย์ บุนนาค ถนนสมเด็จเจ้าพระยา แขวงคลองสาน กรุงเทพมหานคร
      081-928-6879
      อ.ปริยากร ทั่งทอง
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      145 วัดแก้วพิทักษ์เจริญธรรม เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร
      085-916-2663
      อ.ณิชพักตร์ กรุดพันธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      147 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
      086-166-1648
      ดร.นิพนธ์ สุรพงษ์รักเจริญ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      148 มหาวิทยาลัยศรีปทุม กรุงเทพมหานคร
      089-496-8255
      นางปัทมาภรณ์ มิกานนท์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      149 อาคารอื้อจือเหลียง กรุงเทพมหานคร
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      150 โรงพยาบาลตำรวจ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
      081-256-7896
      พ.ต.ท.หญิง ภิญญดา ถนอมกล่อม
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      151 กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น กรุงเทพมหานคร
      081-318-9797
      พล.ต.ธราวุฒิ ศรีนครไทย
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      168 อาคารกองบุญมา สีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
      086-884-2882
      อ.วชิราวัลย์ มหพรภัสร์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      169 ตลาดยิ่งเจริญ ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพมหานคร
      02-9723405 ถึง 7
      อ.คณึงนิต ธรรมวัฒนะ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      170 มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพมหานคร
      081-985-1669
      อ.ณรงค์ ทัศนนิพันธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      176 ม.เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กรุงเทพมหานคร
      098-991-2850
      อ.สุริยา มากมูล
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      177 วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ ม.ธรรมศาสตร์ รังสิต กรุงเทพมหานคร
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      179 อาคารสามารถคอร์ปอเรชั่น ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
      081-985-1669
      อ.ณรงค์ ทัศนนิพันธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      180 กระทรวงการคลัง สามเสน กรุงเทพมหานคร
      086-884-2882
      อ.วชิราวัลย์ มหพรภัสร์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      181 กระทรวงพาณิชย์ สนามบินน้ำ กรุงเทพมหานคร
      086-884-2882
      อ.วชิราวัลย์ มหพรภัสร์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      187 รร.สตรีวัดมหาพฤฒาราม กรุงเทพมหานคร
      081-646-7518
      อ.ธีระ สุวรรณกุล
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      188 โรงพยาบาลเสรีรักษ์ กรุงเทพมหานคร
      081-9208180
      อ.วันชัย วงศ์ศรีสุภางค์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      195 วัดป่าวิศรุตรัตนาราม เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
      093-578 8590
      อ.สุพาณี ศรีวัฒนา
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      200 ซอยรามคำแหง 24/ ซอยพระรามเก้า 41 กรุงเทพมหานคร
      081-985-1669
      อ.ณรงค์ ทัศนนิพันธ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      129 สุมนานุสรณ์(วัดบางขวาง) จ.นนทบุรี นนทบุรี
      086-074-4263
      อ.วิภารัตน์ วงศ์วิวัฒน์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      172 วัดท่าบรรเทิงธรรม อ.บางใหญ่ นนทบุรี
      081-841-3797
      อ.สมมาตร รักษ์ถาวรกุล
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      178 กฟผ.บางกรวย (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) ถนนจรัญสนิทวงศ์ บางกรวย นนทบุรี
      085-945-9546
      อ.ฐนดล สังข์ทอง
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      117 วัดโสภาราม จ.ปทุมธานี ปทุมธานี
      081-315-4776
      อ.จินตนา เคน้ำอ่าง
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      152 อาคารไออาร์บิวติน่า - ปากซอยพหลโยธิน 70 ต.คูคต อ.ลำลูกกา ปทุมธานี
      089-201-1571
      อ.วีรวรรณ เลิศวรธรรม
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      186 หมู่บ้านคลองซอยที่ 11 ปทุมธานี
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      193 คุณหญิงส้มจีน อ.คลองหลวง ปทุมธานี
      089-456-9913
      อ.นวรัตน์ ปวรตรัยรัตน์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      6 วัดบางโฉลงใน อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ สมุทรปราการ
      081-945-2247
      อ.ไพฑูรย์ อ้นเจริญ
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      142 วัดโสธรนิมิตต์ อ.เมือง สมุทรปราการ
      089-205-2024
      อ.ศักรินทร์ รังสิยฉัตร
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      143 วัดศรีรัตนธรรมาราม อ.บางพลี สมุทรปราการ
      081-269-5522
      อ.วิระดนัย ไผ่อรุณรัตน์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
      173 วัดหนามแดง จ.สมุทรปราการ สมุทรปราการ
      089-121-1758
      อ.นันทิรัตน์ สมานหงษ์
      ดูกิจกรรมล่าสุดของสาขานี้
     
  2. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    อมฤทตธรรม หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร

    witsanu tripprasert
    Published on Feb 9, 2012
     
  3. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    "เพราะเหตุ การที่สร้างสมาธิให้แก่ตนนั้น
    เป็นสิ่งที่ฝังสนิทติดอยู่ในใจของเรา ไม่มีใครๆ ที่จะมาดึง
    หรือไม่มีใครที่จะมาถอน เอาสมาธิของเราไปได้
    แต่บางคนพากันเข้าใจว่า ทำสมาธิแล้ว ทำไปทำมาแล้ว
    มันเห็นแต่ว่าหายไป หาตัวหาตนไม่ได้ หรือทำไปก็ไม่เห็นมันได้สมความตั้งใจได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ขลุกขลักเต็มที ที่คิดอย่างนั้นเรียกว่าคิดผิด

    ความจริงแล้ว การทำสมาธินั้น เมื่อเราได้กระทำมาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน หรือเราได้ฝึกฝนกันมาอย่างนี้ จิตอันนั้นมันจะต้องต่อ คือหมายความว่า เราต่อจากเดิมนั้นให้มันยาวขึ้น
    ไม่ใช่ว่าเราจะต้องกลับไปตั้งต้นใหม่"

    #หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร
     
  4. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    LpViriyoungJit.jpg
     
  5. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    LpViriyoungSamathiWorth.jpg
     
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    โอวาทธรรม
    พระธรรมมงคลญาณ (วิริยังค์ สิรินฺธโร)
    เรื่อง ญาณวิปัสสนาอันละเอียด

    (เริ่มทำสมาธิ)

    ญาติโยมทั้งหลายตั้งใจที่จะทำความสงบกันต่อไป
    ให้เป็นปฏิบัติบูชา แด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ในเบื้องต้นนี้อาตมาจะนำ ให้ว่าตามทุกคน

    "ข้าพเจ้าระลึกถึง คุณพระพุทธเจ้า คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์
    คุณบิดามารดา คุณครูบาอาจารย์
    จงมาดลบันดาลให้ใจของข้าพเจ้าจงรวมลงเป็นสมาธิ
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ (๓ ครั้ง) พุทโธ พุทโธ พุทโธ"


    นึกไว้ในใจ นั่งขัดสมาส ขาขวาทับขาซ้าย
    มือขวา หงายทับมือซ้าย วางไว้บนตัก หลับตานึกพุทโธในใจ
    กำหนดใจไว้ที่ใจ ไม่ให้ส่ายแส่ไปในทางอื่น
    ไม่ให้มีอารมณ์ พยายามที่จะกำจัดมันออกไป
    เราต้องคิดว่า เราเกิดมาคนเดียว ตายไปคนเดียว ไม่มีใคร
    เมื่อเราหลับตา เหลือแต่ใจ มองไม่เห็นอะไร นอกจากใจดวงเดียว

    ที่เราพากันเห็น ก็คือสัญญาอุปาทานเท่านั้น แท้ที่จริงแล้วไม่มีอะไร
    จริงๆ เมื่อหลับตาก็มองเห็นแต่ความรู้
    มีความรู้อันเดียว เมื่อหลับตาไปแล้วเป็นอย่างนั้น
    เพราะฉะนั้นให้ทำจิตคือทำจิตให้มีอารมณ์อันเดียว
    เมื่อมีอารมณ์อันเดียวย่อมจะเป็นสมาธิ

    การเป็นสมาธิของจิตนั้น ย่อมจะเกิดปีติ ความเอิบอิ่ม
    ย่อมจะต้องเกิดความสุข คือความสบาย
    ย่อมจะต้องเกิดความเบาตัว แล้วก็มีความละเอียดละมุนละไม
    นั่นคือจิตสงบแล้ว และจิตเป็นสมาธิแล้ว
    จิตที่เป็นสมาธินั้น มีปรากฏการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น
    ไม่เหมือนกันกับที่เราอยู่โดยปรกติ

    ถ้าเราอยู่โดยปรกติที่ไม่เป็นสมาธินั้น มันมีจิตรกรุงรัง
    หรือคิดโน่น คิดนี่ มีความฟุ้งซ่านต่างๆ
    นั่นคือความปรกติของจิตใจ แต่พอเวลาเป็นสมาธิ
    จิตนี้จะ ผิดจากปรกติเดิมธรรมดา มาอยู่ในฐานะหนึ่ง
    คือมาอยู่ในฐานะอีกฐานะหนึ่ง ฐานะนี้เป็นฐานะที่เรียกว่า ฌาน
    ฌานนั้นมีอยู่ ๔ ด้วยกัน ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุถฌาน

    ฌานที่มี ๔ คือ
    ปฐมฌาน มีองค์ ๕ คือ วิตก วิจารณ์ ปีติ สุข เอกัคคตา
    วิตก วิจารณ์ นั้น คือการนึก พุทโธๆ เรียกว่า วิตก วิจารณ์
    พอปีติ เมื่อนึกพุทโธแล้ว จิตก็อยู่ที่พุทโธ ปีติ คือ ความขนพองสยองเกล้า
    รู้สึกมันหวิวๆ อะไรอย่างนี้ เรียกว่า ปีติ วิตก วิจารณ์ ปีติ
    สุข ก็คือ ความสบาย เอกัคคตานั้นคือความเป็นหนึ่ง นี้เรียกว่าปฐมฌาน

    ทุติยฌานนั้น ก็มีอยู่องค์ ๓ วิตก วิจารณ์ตัดออกไป
    การนึกพุทโธนั้นไม่ต้องนึกแล้ว เหลือแต่ปีติ สุข เอกัคคตา
    เหลือแต่ความเอิบอิ่ม และความสบาย และความเป็นหนึ่ง
    ตติยฌานนั้น เหลืออยู่องค์สอง ตัดวิตก วิจารณ์ออกไป ตัดปีติออกไป
    เหลือแต่สุขกับเอกัคคตา มีแต่ความสบายและความเป็นหนึ่ง

    จตุถฌานที่ ๔ สุดท้ายนั้น ก็มีองค์สองเช่นเดียวกัน
    คือมีแต่อุเบกขา และเอกัคคตา เรียกว่าวิตกวิจารณ์ตัดออกไป
    ความเอิบอิ่มตัดออกไป ความสุข ความสบายก็ตัดออกไป
    เหลือแต่ความวางเฉยกับความเป็นหนึ่ง ฌานทั้ง ๔ นี้เรียกว่ารูปฌาน

    เมื่อรูปฌานนี้ ได้รับการพัฒนา หรือทำให้ยิ่ง
    รูปฌานนั้น จะกลับกลายเป็นอรูปฌาน คือจิตจะละเอียดลงไป
    จิตละเอียดลงไปนั้น ก็กลับกลายเป็นอากาศว่างเปล่า ไม่มีอะไร
    เรียกว่า "อากาสานัญจายตนฌาน"

    เมื่อจิตนี้ได้รับการฝึกฝน ละเอียดยิ่งขึ้นไปแล้ว ก็เหลือแต่ความรู้
    ไม่มีอะไร เหลือแต่ความรู้ เรียกว่า "วิญญานัญจายตนฌาน"

    เมื่อได้รับการฝึกฝนจนกระทั่งหมดทุกสิ่งทุกอย่าง
    ไม่มีอะไรแล้ว อารมณ์อะไร ความสุข ความอะไรก็ไม่มีหมด
    เรียกว่า "อากิญจัญญายตนฌาน"

    ในที่สุดถึงที่สุด ฌานของอรูปฌาน ๔ นั้น คือ
    จะว่าสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่ใช่สัญญาก็ไม่ใช่ เรียกว่าไม่มีอะไรเอาเลย
    นั้นเรียกว่า "เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน"

    ทั้งหมดนี้ เรียกว่า รูปฌาน และ อรูปฌาน

    ฌานทั้งหมดนี้นั้น เป็นฌานที่เรียกว่า ฌานโลกีย์
    ฌานโลกีย์ ผู้ที่บำเพ็ญฌานเหล่านี้ได้แล้ว
    ก็จะไปเกิดในชั้นพรหมโลก เลยชั้นสวรรค์ไปก็ไปเกิดในชั้นพรหมโลก
    จากพรหมธรรมดา จนกระทั่งถึงมหาพรหม อย่างนี้คือผู้บำเพ็ญฌาน

    ฌานเหล่านี้นั้นมิใช่เกิดขึ้นได้ทั้งหมดได้ง่ายๆ
    ผู้ที่บำเพ็ญฌานที่เป็นรูปฌานและอรูปฌานนั้น
    ต้องใช้เวลาอันยาวนาน บางทีหมดชีวิตก็ไม่ได้
    บางทีพวกฤาษีไปอยู่ในป่าคนเดียว บำเพ็ญฌานก็ยังไม่ค่อยจะสำเร็จถึงขั้นนี้

    ฌานพวกนี้ ถ้าทำสำเร็จขึ้นมาแล้ว สามารถที่จะแสดงฤทธิ์ได้
    เหาะเหินเดินอากาศได้ มองดูจิตใจของคนได้ ระลึกชาติหนหลังได้
    อย่างนี้ถือว่าได้สำเร็จฌาน แต่ฌานเหล่านี้นั้น
    ไม่สามารถที่จะกำจัดกิเลสได้ กิเลสก็ยังอยู่
    เพราะว่าไม่ใช่วิปัสสนา เป็นแต่เพียงสมถกรรมฐาน


    (มุ่งพ้นทุกข์)

    สมถะนั้นถ้าเราบำเพ็ญฌานไปโดยสม่ำเสมอ
    อานิสงส์แห่งฌาน ก็ทำให้ไปบังเกิดเพียงแค่ชั้นพรหม
    ชั้นพรหมนั้น อายุยาวนานกว่าชั้นสวรรค์ถึง ๒๐ เท่า
    เมื่อไปอยู่ที่นั่นแล้วก็ลืม มีความสบายจนลืม
    แต่ที่สุดถึงที่สุด ก็ต้องกลับมาในมนุษยโลกอีก
    นั่นคือ เรียกว่า ยังเวียนว่ายตายเกิด

    ผู้ที่ไม่ต้องการที่จะเวียนว่ายตายเกิดอีก
    หมายความว่าเมื่อบำเพ็ญฌานได้แล้ว เขาก็ยกอรูปฌานออกเสีย
    เอาแค่รูปฌาน ๔ คือ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุถฌาน
    เอาแค่ฌาน ๔ นี้ เอาฌาน ๔ นี้มาเป็นกำลัง หันหน้าเข้าสู่วิปัสสนา

    เมื่อหันหน้าเข้าสู่วิปัสสนา
    ก็จะไปพบ ไตรลักษณ์ ที่พระพุทธองค์ทรงตรัส
    ไตรลักษณ์นั้น มีเฉพาะในพระพุทธศาสนาอย่างเดียวเท่านั้น
    ศาสนาอื่นไม่มี เพราะฉะนั้น ในศาสนาทุกศาสนาจึงไม่มีวิปัสสนา
    มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา เพราะทุกคนนั้นปรารถนาแค่เพียงสวรรค์
    ปรารถนาแค่เพียงความสุขในเมืองมนุษย์

    แต่ว่าการที่สำเร็จฌานเหล่านั้น บางทีก็เกิดความเสื่อม
    เมื่อเกิดความเสื่อมแล้วก็ไปทำความชั่ว สามารถไปตกนรกได้
    สามารถไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉานได้ เพราะว่ายังไม่ใช่นิยตบุคคล เป็นอนิยตบุคคล
    ดังนั้นการเวียนว่ายตายเกิด รึว่าการแปรเปลี่ยน ย่อมมีแก่ผู้บำเพ็ญฌาน

    แต่ว่าถ้าผู้ใดหันเข้ามาสู่วิปัสสนานั้น
    วิปัสสนาเป็นทางเดียวเท่านั้น ที่จะทำคนให้พ้นทุกข์
    คือ พ้นจากความเกิดแก่เจ็บตายนี้ได้
    ดังนั้นในวิปัสสนา พระพุทธองค์จึงทรงตรัสให้เกิดเป็นไตรลักษณ์

    ไตรลักษณ์นั้น คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
    อนิจจังคือความไม่เที่ยง ทุกขังคือความเป็นทุกข์
    อนัตตาคือความไม่ใช่ตัวตน


    อย่างนี้ทั้งสามประการนี้ ถ้าพิจารณาได้ก็ถือว่า เราได้เริ่มวิปัสสนาแล้ว


    พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสว่า

    สัพเพ สังขารา อนิจจา ติ สังขารทั้งหลายเป็นของไม่เที่ยง
    ย ดา ปัญญา ย ปัสสติ เมื่อใดบุคคลผู้ใดทำให้เกิดปรากฏขึ้นแล้ว
    อัตถ นิพพินติ ทุกเข จากนั้นผู้นั้นจะเกิดความเบื่อหน่าย
    เอสะ มัคโค วิสุทธิยา นี้คือหนทางไปสู่พระนิพพาน

    สัพเพ สังขารา อนิจจา ติ สังขารทั้งหลายเป็นของไม่เที่ยง
    ย ดา ปัญญา ย ปัสสติ เมื่อใดผู้ใดทำให้ปรากฏ
    อัตถ นิพพินติ ทุกเข เมื่อนั้นบุคคลผู้นั้นจะเกิดความเบื่อหน่าย
    เอสะ มัคโค วิสุทธิยา นี่คือหนทางพระนิพพาน

    สัพเพ ธัมมา อนัตตา ติ ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตัวตน
    ย ดา ปัญญา ย ปัสสติ บุคคลผู้ใดทำให้ปรากฏขึ้นแล้ว
    อัตถ นิพพินติ ทุกเข บุคคลผู้นั้นย่อมจะบังเกิดความเบื่อหน่าย
    เอสะ มัคโค วิสุทธิยา นี่คือหนทางพระนิพพาน

    พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสยืนยันเช่นนี้
    ต้องการที่จะให้พุทธบริษัทพ้นไปจากทุกข์เสีย
    ไม่ต้องมาพากันเวียนว่ายตายเกิดลำบากลำบนกันอยู่ในเมืองมนุษย์นี่
    เพราะฉะนั้น ท่านจึงได้ยกวิปัสสนาขึ้น เพื่อให้พากันพิจารณา
    การพิจารณาทุกข์ การพิจารณาความไม่เที่ยง
    การพิจารณาถึงความไม่ใช่ตัวตนนั้น เป็นสิ่งที่จะต้องใช้ฌาน
    เราจะพิจารณาโดยที่ไม่มีฌานนั้น ย่อมไม่ได้

    (การเดินจิตเปรียบเหมือนการแล่นเรือใบ)

    เพราะฉะนั้นอย่างไรก็ตามก็ต้องบำเพ็ญฌานอยู่ดี
    แต่ไม่จำเป็นต้องบำเพ็ญถึงอรูปฌาน
    บำเพ็ญแต่เฉพาะรูปฌานเท่านั้นก็พอแล้ว
    แล้วก็เปลี่ยนมาพิจารณา การพิจารณานั้นท่านให้พิจารณา
    เปรียบเหมือนกันกับผู้ที่เดินเรือใบ เมื่อเวลาเดินเรือใบไปในกลางทะเล
    เมื่อเวลาลมจัด ต้องลดใบ เมื่อเวลาลมพอดีก็กางใบ
    แล้วเรือก็จะแล่นไปตามความประสงค์
    หากว่ามีคลื่น ก็ทอดสมอ อย่างนี้เป็นต้น

    ฉันใดก็ฉันนั้น บุคคลผู้ที่จะบำเพ็ญวิปัสสนา ต้องพิจารณา
    แต่ว่าการพิจารณาถึงความไม่เที่ยง ความเกิด แก่ เจ็บ ตายนั้น
    ไม่ใช่ว่าจะให้พิจารณาไปตลอด ก็เหมือนกันกับเรือใบที่แล่นไปในทะเลนั้น
    ต้องไม่แล่นไปตลอด เมื่อเจอลมสลาตัน หรือลมใหญ่ ต้องลดใบทันที
    มิฉะนั้นเรือจะคว่ำ ถ้าหากว่าเมื่อเวลาจอดไม่ทอดสมอ ถูกคลื่นตีมา เรือก็คว่ำ

    เพราะฉะนั้น จึงเปรียบเหมือนกันกับผู้บำเพ็ญวิปัสสนา
    ผู้ที่บำเพ็ญวิปัสสนานั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณาแล้ว
    และกลับคืนมาหาความสงบ เมื่อจิตสงบแล้ว ก็ยกออกไปพิจารณาสักครู่หนึ่ง
    แล้วก็ย้อนกลับคืนมาทำความสงบใหม่ ไม่ให้พิจารณาไปตลอด เวลานั่งสมาธิ

    เมื่อพิจารณาเช่น พิจารณาถึง "ความไม่เที่ยง"
    ร่างกายของคนเรานี้เกิดมาก็หนุ่มสาว เกิดมาแล้วทีนี้ก็แก่ไป
    เมื่อแก่ไปแล้ว เนื้อก็เหี่ยว หนังก็ยาน ในที่สุดก็เกิดโรคภัยไข้เจ็บป่วยขึ้น
    นี่เค้าเรียกว่าเปลี่ยนแปร เปลี่ยนแปลง ต่อจากนั้นก็สิ้นลมหายใจ ก็เรียกว่า ตาย
    ก็เรียกว่าอนิจจัง มันไม่เที่ยง เกิดขึ้นมาแล้วก็ตายไป อย่างนี้คือการพิจารณาวิปัสสนา

    เมื่อพิจารณาอย่างนี้สักครู่หนึ่ง ก็วางเฉย
    คือหมายความถึงว่า เราจะต้องตั้งต้นร่างกายอันนี้ไปตั้งแต่เด็ก
    แล้วก็เป็นหนุ่มเป็นสาว แล้วก็แก่ชรา แล้วก็มีโรคภัยเบียดเบียนแล้วก็ตายไป
    การพิจารณาอย่างนี้เรียกว่าวิปัสสนา แต่ต้องพิจารณาเพียงชั่วระยะ
    เหมือนกันกับเรือแล่นไปในมหาสมุทร เรือใบเมื่อถึงเวลาลมแรงก็ลดใบลง
    ถึงเวลาอันสมควรก็ทอดสมอ อย่างนี้เป็นต้น

    เมื่อพิจารณาอย่างนี้ แล้วก็ มาพิจารณาถึง "ความทุกข์"
    ความเกิดนั้นก็เป็นทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์
    ความเจ็บก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ อย่างนี้
    เมื่อพิจารณาอย่างนี้แล้ว เราก็ พิจารณาให้ยิ่งขึ้นไปว่า มันทุกข์อย่างไร
    เช่น เมื่อเวลาเจ็บป่วยขึ้นมานี่มันทุกข์แค่ไหน
    เมื่อเวลาไม่มีสิ่งที่เราต้องการมันเกิดความทุกข์แค่ไหน
    เมื่อเราต้องการสิ่งใด ไม่สมความปรารถนา มันทุกข์แค่ไหน
    ในเมื่อเวลาที่ คนรัก คนชอบของเราต้องตายไป เราทุกข์แค่ไหน
    อย่างนี้เค้าเรียกว่าทุกขัง คือความเป็นทุกข์ ย่อมจะต้องเกิดขึ้น

    เมื่อพิจารณาอย่างนี้แล้ว
    ก็ชื่อว่าเป็นวิปัสสนาอีกส่วนหนึ่ง "อนัตตา คือ ความไม่ใช่ตัวตนนั้น"
    เราต้องพิจารณาว่า อันร่างกายของเรานี้ มันเป็นเพียงธาตุทั้ง ๔
    ดิน น้ำ ไฟ ลม เท่านั้น ส่วนที่เป็นลักษณะแข็ง ก็เรียกว่าดิน
    ส่วนที่เป็นลักษณะอ่อน เหลว ก็เรียกว่าน้ำ ส่วนที่พัดไปพัดมาก็เรียกว่าลม
    ส่วนที่ทำร่างกายให้อบอุ่น ก็เรียกว่าไฟ มันเป็นธาตุทั้ง ๔ จึงไม่ใช่ตัวตนแต่อย่างใด

    (การทวนกระแสจิต)

    ทั้งสามประการนี้ มันเป็นเรื่องของ การทวนกระแสจิต
    คนเรานั้น รักสวยรักงาม คนเรานั้น ไม่อยากพูดถึงกองทุกข์
    คนเรานั้น ถือว่าเป็นตัวเป็นตนจริงๆ ไม่ใช่ว่าไม่ใช่ตัวตน นี่เราถือกันมา
    แล้วเราก็รู้จักกันมาโดยนัยนี้ แต่วิปัสสนานั้นเป็นส่วนที่ทวนกระแส
    คือ ทวนกระแสของโลก เมื่อเค้าว่าตัวตน วิปัสสนาก็ว่าไม่ใช่ตัวตน
    เมื่อเขาว่าเที่ยง วิปัสสนาก็ว่าไม่เที่ยง
    เมื่อเขาว่าเป็นสุข วิปัสสนาก็ว่าเป็นทุกข์ อย่างนี้

    ถ้าผู้ที่มาบำเพ็ญ พิจารณาแล้วพิจารณาเล่า
    เรียกว่าพิจารณาหลายครั้งเหลือเกิน ครั้งแล้วก็ครั้งเล่า
    มันก็จะเกิดสิ่งหนึ่งขึ้นมา สิ่งนั้นก็คือวิปัสสนา
    วิปัสสนานั้นมี ๙ ประการ นับไปตั้งแต่
    นิพพิทาญาณ มุญจิตุกามยตาญาณ ภังคญาณ เป็นต้น
    ญาณนั้น คือความหยั่งรู้
    หรือสิ่งที่พอเพียงแห่งความต้องการแล้วเกิดขึ้น เรียกว่า ญาณ

    ในการที่พิจารณาให้เกิดความเบื่อหน่ายขึ้นนั้น
    ความเบื่อหน่าย เค้าเรียกว่า "นิพพิทาญาณ"
    ถ้าญาณใดเกิดขึ้นเหมือนกับ นกกระทาที่อยู่ในกรง
    พยายามที่อยากจะเจาะรูกรง เรียกว่า สักกรงอยู่เรื่อย
    นั้นเค้าเรียกว่า "มุญจิตุกามยตาญาณ" หรือ วิปัสสนาญาณหนึ่ง ที่เกิดขึ้นนั้น
    เห็นความเสื่อมสลายหมดเกลี้ยง ไม่มีอะไรเหลือ อย่างนี้ เรียกว่า "ภังคญาณ"

    ถ้าเราทำได้อย่างนี้ ก็วิปัสสนาก็เกิดขึ้นกับเราแล้ว
    แต่วิปัสสนาที่เกิดขึ้นนั้น พึงเข้าใจว่า ไม่ใช่สำเร็จ ยังไม่สำเร็จ
    วิปัสสนานั้นเรียกว่าเป็นเพียง การกระทำอันหนึ่ง
    เพื่อที่จะให้เป็นการขัดเกลาจิตให้บริสุทธิ์ขึ้นตามลำดับ
    แต่ยังไม่ใช่ถึงขั้นสำเร็จ ถ้าขั้นสำเร็จนั้นจะต้องบำเพ็ญวิปัสสนาไปอีก
    ให้เกิดนิพพิทาญาณนั้น นับครั้งไม่ถ้วน


    เมื่อบำเพ็ญจิตให้เกิดความเบื่อหน่าย
    หรือมีจิตที่คิดอยากออกเหมือนนกกระทาที่สักกรงอยู่
    หรือเหมือนกันกับ มองเห็นหมดสิ้นทุกสิ่งทุกอย่าง
    อย่างนี้เรียกว่า วิปัสสนา
    ถ้าเกิดอย่างนี้ขึ้นมาก็จะต้อง ให้เกิดอย่างนี้ขึ้นไปตลอด

    มองเห็นซึ่งสัจธรรมบังเกิดนิพพิทาญาณ ความเบื่อหน่ายขึ้นมาแล้ว
    เห็นจริงแจ้งประจักษ์ เพราะฉะนั้น ความสงสัยจึงตัดไปได้เลย
    จึงเรียกว่า "กังขาวิตรนวิสุทธิ"

    ญาณวิสุทธิ คือ ความหยั่งรู้ ความหยั่งรู้นั้น คือ นิพพิทาญาณ
    นิพพิทาญาณที่เกิดขึ้นนั่นแหละ คือ ความหยั่งรู้ คือ ตัวญาณ เรียกว่าญาณวิสุทธิ
    ไม่ใช่ไปคิดเบื่อเอา หรือไม่ใช่ไปคิดเดาเอาว่าชั้นจะเบื่อหน่าย
    หรือไปคิดเอาเอาว่า โอ้ โห…ชั้นนี่ เป็นทุกข์ ไม่อยากจะ…อยากออก อะไรแล้ว
    หรือจะไป ฉันนี่คิดเอาว่า โห…ฉันพ้นทุกข์แล้ว ไม่ใช่คิดเอา
    แต่ว่าญาณนี้จะต้องเกิดขึ้นเอง เมื่อญาณเกิดขึ้นแล้ว
    ก็เป็นความบริสุทธิ์ ไม่ใช่เป็นญาณนึก ญาณคิด


    (ปรมัตถธรรม)

    ญาณทัศนะ นอกจากที่ว่าจะมีความหยั่งรู้แล้ว ก็ยังมีความเห็น
    คือนอกจากจะรู้แล้วก็เห็นด้วย หลับตาลงไปเห็นสัจธรรมไปเลย
    ในที่สุดท้ายคือ ปฏิปทาญาณะ
    ผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ทำด้วย รู้ด้วย เห็นด้วย ทั้ง ๓ ประการเกิดขึ้นพร้อมกัน

    อย่างนี้เรียกว่า "วิสุทธิ ๗ ประการ"
    อันเป็นสัญลักษณ์แสดงให้เห็นถึงผู้นั้น ได้ดำเนินวิปัสสนาเป็นผลสำเร็จขึ้นแล้ว
    ในเรื่องของสมถะก็ดี ในเรื่องของวิปัสสนาก็ดี
    ในเรื่องของ วิสุทธิ ๗ ประการก็ดี
    ทั้งหมดนี้จะไปรวมกันกลับกลายเป็น "องค์แห่งการตรัสรู้"

    องค์แห่งการตรัสรู้นั้นมีอยู่ ๗ ประการ คือ โพชฌงค์ ๗
    โพชฌงค์ คือ องค์แห่งการตรัสรู้
    นับไปตั้งแต่ โพชฌงค์ คือ สติโพชฌงค์ สติโพชฌงค์
    ปีติโพชฌงค์ ปัสสัทธิโพชฌงค์ วิริยโพชฌงค์
    ไปจนกระทั่งถึง อุเบกขาโพชฌงค์
    โพชฌงค์ คือ องค์แห่งการตรัสรู้นั้น ต้องมีสติเรียกว่าความมั่นคงแห่งสติ

    ความมั่นคงแห่งสตินั้น สติจะต้องกำหนดอยู่ในอนิจจัง ในทุกขัง ในอนัตตา
    คือ สตินั้นจะกำหนดอยู่ในไตรลักษณ์ตลอดเวลา
    เมื่อสติกำหนดอยู่ในไตรลักษณ์ตลอดเวลา ก็เป็นองค์แห่งการตรัสรู้
    อันนี้เรียกว่าเป็นองค์แห่งการตรัสรู้
    องค์แห่งการตรัสรู้นั้น คือการ ภาวิโต พหุลีกโต (ภาษาบาลียาวมาก…ฟังไม่ทัน)
    ที่พระท่านสวดโพชฌงค์นั่นแหละ

    นั่นแหละคือองค์แห่งการตรัสรู้ เรียกว่า
    เมื่อเป็นวิปัสสนาแล้ว ก็เข้ามาถึงโพชฌงค์
    สตินั้นจะต้องอยู่กับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อยู่ตลอด
    และเป็นผู้ที่วางอุเบกขาได้ ในเมื่อมีสิ่งที่มารบกวนจะเป็นสิ่งที่มาหลอกหลอน
    ว่าเราได้สำเร็จบ้าง หลอกหลอนว่าเราได้ชั้นนั้น ชั้นนี้บ้าง
    สิ่งหลอกหลอนเหล่านี้มาหลอกหลอนไม่ได้
    เพราะว่าเป็นอุเบกขาโพชฌงค์เสียแล้ว

    เพราะฉะนั้นในการปฏิบัตินั้น ย่อมจะมีหนทางที่ทำให้เรารู้
    ที่แสดงมานี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา เรียกว่า ปรมัตถธรรม
    ปรมัตถธรรมที่แสดงมาในวันนี้นั้น เป็นธรรมะชั้นสูง
    เรียกว่าสูงสุดของพระพุทธศาสนา และ ก็เป็นธรรมที่ควรแก่การศึกษาอย่างยิ่ง

    ถ้าเรายังไม่เข้าใจ เราก็พยายามฟังให้บ่อยๆ แล้วเกิดความเข้าใจ
    เมื่อเข้าใจธรรมะปรมัตถ์นี้เมื่อไร จิตนั้นก็ถือว่าสูงแล้ว
    บุคคลผู้นั้นจะเป็นบุคคลที่ไม่มีการตกต่ำเป็นธรรมดา
    เรียกว่าปิดอบายภูมิได้โดยสิ้นเชิง

    การปิดอบายภูมิ อบายภูมิก็คือ นรก เปรต อสุรกาย
    สัตว์เดรัจฉาน ๔ ประการนั้นเรียกว่าอบายภูมิ
    ผู้ที่บำเพ็ญวิปัสสนาเข้าขั้นแห่งปรมัตถ์นั้น ย่อมปิดอบายภูมิทั้ง ๔ นี้ได้

    ต่อไปก็นั่งสมาธิกันอีกซักพักต่อไป


    ที่มา แสดงกระทู้ - ญาณวิปัสสนาอันละเอียด (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร) • ลานธรรมจักร
     
  7. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    หลวงปู่วิริยังค์::การบรรลุผลสมาธิ

    witsanu tripprasert
    Published on Feb 9, 2012
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2018
  8. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    หลวงปู่วิริยังค์::จิตเข้าสู่มหาสติ

    witsanu tripprasert
    Published on Feb 8, 2012
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2018
  9. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    สมาธิขั้นสูงเข้าสู่การบรรลุธรรม หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร

    ธรรมะ วัดป่า
    Published on Nov 2, 2017
     
  10. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    05 - สมาธิมีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวัน - หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

    สมาธิแก้ความเครียด - หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

    namo 125
    Published on Mar 20, 2018
     
  11. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ความสำเร็จของบุญ หลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร

    witsanu tripprasert
    Published on Jan 15, 2012




     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2018
  12. Nagamanee

    Nagamanee Manassa

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    526
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,581
    สาธุในธรรมที่เผยแพร่

    ขอบคุณค่ะ
     
  13. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    หลวงปู่วิริยังค์::ญาณวิปัสสนา

    witsanu tripprasert
    Published on Feb 9, 2012
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2018
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ภาพแห่งความประทับใจ(เห็นแล้วสุข ปิติใจมากๆ)

    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร วัดธรรมมงคล กับพระเถระครูบาอาจารย์สายกรรมฐานหลวงปู่มั่น



    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับพระอุดมญาณโมลี วัดโพธิสมภรณ์ จ.อุดรธานี

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับพระอุดมญาณโมลี วัดโพธิสมภรณ์ จ.อุดรธานี

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่บุญฤทธิ์ สวนทิพย์

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่ท่อน วัดศรีอภัยวัน

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่ท่อน วัดศรีอภัยวัน



    a.jpg

    หลวงตาแตงอ่อน กัลยาณธัมโมกับหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร (งานหลวงปู่จันทร์โสม)

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่บุญเพ็ง วัดถ้ำกองเพล

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่บุญหนา วัดป่าโสตถิผล

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงพ่อทูล วัดป่าบ้านค้อ

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่บูญมา วัดสีห์พนม หลวงปู่คำบ่อ วัดใหม่บ้านตาล

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่บูญมา วัดสีห์พนม หลวงปู่เจริญ วัดถ้ำปากเปียง

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่สนธิ์ วัดพุทธบูชา หลวงปู่เสน วัดป่าหนองแซง

    a.jpg
    ภาพหลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร กับหลวงปู่แปลง วัดป่าอุดมสมพร

    a.jpg
    หลวงพ่อถาวร วัดปทุมวนาราม ถวายสักการะหลวงปู่วิริยังค์


    a.jpg
    หลวงปู่วิริยังค์เทศน์งานสวดลักขี วัดธรรมมงคล

    a.jpg
    หลวงปู่วิริยังค์เทศน์งานสวดลักขี วัดธรรมมงคล


    a.jpg

    หลวงปู่บุญพิณ วัดผาเทพนิมิต ,หลวงพ่อไมย์ วัดป่าหนองช้างคาว ,พระอาจารย์เจริญ วัดอรัญญวิเวก กราบคารวะหลวงปู่วิริยังค์

    a.jpg
    หลวงปู่บุญพิณ วัดผาเทพนิมิต หลวงพ่อประสิทธิ์ วัดอรัญญวิเวก นั่งแผ่เมตตาจิตในงานสวดลักขีวัดธรรมมงคล

    a.jpg


    a.jpg
    พระเถระครูบาอาจารย์ฉันภัตาหารเช้าที่ศาลา 84 ปี
    a.jpg
    พระราชพิพัฒนาทร (หลวงพ่อถาวร)กราบคารวะหลวงปู่วิริยังค์
    a.jpg
    พระราชพิพัฒนาทร (หลวงพ่อถาวร)กราบคารวะหลวงปู่วิริยังค์

    a.jpg
    พระราชพิพัฒนาทร (หลวงพ่อถาวร)กราบคารวะหลวงปู่วิริยังค์
    a.jpg
    พระราชพิพัฒนาทร (หลวงพ่อถาวร)กราบคารวะหลวงปู่วิริยังค์

    a.jpg
    หลวงปู่เสน วัดป่าหนองแซง กราบคารวะหลวงปู่วิริยังค์
    a.jpg
    พระเถระครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่นเจริญพระพุทธมนต์ฉลองอายุวัฒนะมงคลหลวงปู่วิริยังค์
    a.jpg
    พระเถระครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่นเจริญพระพุทธมนต์ฉลองอายุวัฒนะมงคลหลวงปู่วิริยังค์

    a.jpg
    พระเถระครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่นเจริญพระพุทธมนต์ฉลองอายุวัฒนะมงคลหลวงปู่วิริยังค์

    a.jpg
    หลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร ดับเทียนชัย ในงานสวดลักขีบวชชีหมื่นคนวัดธรรมมงคล

    a.jpg
    หลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร ดับเทียนชัย ในงานสวดลักขีบวชชีหมื่นคนวัดธรรมมงคล

    a.jpg
    หลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร นั่งสมาธิ ณ ดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่
    a.jpg
    หลวงปู่วิริยังค์ สิรินฺธโร ใส่บาตรสามเณร
    a.jpg

    a.jpg
    งานครบรอบก่อตั้งสถาบันพลังจิตตานุภาพ ๑ๆ ปี งานสอนสมาธิ
    a.jpg
    ภาพเก่าเล่าเรื่องอดีต
    a.jpg

    a.jpg

    a.jpg
     
  15. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    หลวงปู่วิริยังค์::ประโยชน์สมาธิ

    witsanu tripprasert
    Published on Feb 9, 2012
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2018
  16. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ธรรมะรุ่งอรุณ : "อินทรีย์ 5" 23/10/59 พระธรรมมงคลญาณ (พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร) Live !!

    Samathi Channel
    Published on Dec 26, 2016
    เช้าวันอาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2559
    พระธรรมเทศนาโดย พระธรรมมงคลญาณ (พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร)
    เจ้าอาวาส วัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ
    ประธานผู้ก่อตั้งสถาบันพลังจิตตานุภาพ และประธานคณะสงฆ์ธรรมยุตแห่งประเทศแคนาดา
     
  17. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ธรรมะรุ่งอรุณ : "ด้วยบุญสัมพันธ์ จึงได้มาเป็นศิษย์เป็นอาจารย์" 17/07/60พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!

    Samathi Channel
    Published on Jul 20, 2017

     
  18. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ธรรมะฟ้าสาง : “เราทำกรรมใดไว้ กรรมนั้นย่อมเป็นของเรา” 26/01/59 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!

    ทำบุญให้โทษ โปรดสัตว์ได้บาป” 26/02/59 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!


    "การมีสติ ทำให้เราควบคุมจิตใจได้" 21/07/60 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!

    "สิ่งที่เกิดขึ้นจากสมาธิ มีค่ามหาศาล ใครก็แย่งเอาไปไม่ได้" 09/07/60 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!

    Samathi Channel
    Published on Jul 11, 2017
     
  19. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    "พลังจิตเปรียบดั่งแก้วสารพัดนึก" 24/12/58 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!

    "สมาธินำไปสู่ปัญญา" 12/07/59 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!


    “ทำใจให้สะอาดด้วยสมาธิ” 28/02/59 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!


    "สมาธิเป็นเหตุให้เกิดสติและปัญญา" 11/01/59 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!


    Samathi Channel
    Published on Feb 9, 2016
     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,701
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    " ศีล สมาธิ ปัญญา ทำให้คนสวยรวยทรัพย์" 02/01/60 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!

    " ธรรมะมีอยู่ทุกหนแห่งสำหรับผู้ฉลาด" 04/01/60 พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร Live !!

    Samathi Channel
    Published on Mar 21, 2017
     

แชร์หน้านี้

Loading...