ตามรอย "พระมหาชนก"

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 15 กรกฎาคม 2010.

  1. CopperOxide

    CopperOxide เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +289
    ขอบคุณ คุณแก้มแดงครับ ผมเองก็ตีความเท่าที่ผมพอนึกออกคิดออก อย่างที่บอกส่วนของผมเองอาจจะผิดพลาดทั้งหมดหรือพาออกเวิ้งทะเลมหาสมุทรก็เป็นไปได้
    ถ้าทุกๆท่านช่วยกันสังเกต-ตีความหลายๆคน จะดีมากครับเพราะตัวผมคนเดียวความรู้มุมมองก็ยังจำกัดจำเขี่ยอยู่
    ส่วนสัญลักษณ์ที่ผมยังไม่ได้ตีความหรือหาความหมายคือ หลายภาพใน พระราชนิพนธ์นั้น มักมีรูปบานพับปรากฏอยู่หลายหน้า ของศิลปินหลายๆท่าน แม้แต่รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน พวกสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ก็มักปรากฏสอดแทรกเข้ามาในภาพหลายภาพเช่นกัน
    รูปภาพเชิงซ้อนระหว่างยุทธหัตถีเองก็ปะปนทั้ง เหตุการณ์ปัจจุบัน-เหตุการณ์ตามท้องเรื่อง เป็นนัยยะ แถมยังมีบานประตูมีรูปชาวต่างชาติอีก
    ขณะที่ชาติบ้านเมืองวุ่นวายด้วยเหตุจากคนในชาติก่อสงครามกัน ชาวต่างชาติกลับยืนรออยู่ที่ประตู ส่วนว่าพวกต่างชาติจะเข้าหรือออกนั้น สุดแต่ใครตีความ ... กระแสข่าวการก่อการร้ายเพิ่งมารับขวัญวันวาเลนไทน์ที่ผ่านมา เหมือนบางชาติพยายามดึงเราเข้าสู่เกมล่าอาณานิคมเหมือนอย่างบุกอิรัก ส่วนชาติไหนนั้นให้(ด้วยความคิดเห็นส่วนตัว)สังเกตภาพปิรามิดเล็กๆบนบนบานประตูกับธนบัตรของบางชาติ (ว่าจะไม่เอาไปโยงกับกลุ่ม Illu... แล้วเชียว ไหนๆก็ไหนๆ มีบางชาติที่สัญลักษณ์ธงชาติ เหมือนกับ ปิรามิดในธนบัตร นั่นแหละครับ ฟ้าขาวแต่มิใช่อาเจนตินา ประเทศก็ก่อตั้งไม่นานแต่มีอิทธิพลต่อมหาอำนาจอย่างเหลือเชื่อ แถมไทยยังเพิ่งรับรองรัฐอิสระของประเทศคู่แค้น(ของประเทศฟ้าขาว)ไม่นานนี้เอง มูลเหตุแผนระเบิดก่อการร้ายบังเอิญเกินไปกระมัง... เดี๋ยวผมชักใบเรือกลับก่อนออกทะเลมากไป :) )
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กุมภาพันธ์ 2012
  2. NewWorld

    NewWorld Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    41
    ค่าพลัง:
    +80
    การพยากรณ์ของมณีเมขลามี 4 ภาพ คือ
    หน้า 54 อาจจะหมายถึง ปี 54 ถ้าหากเราเดินทางไปยังที่ปลอดภัยและเตรียมการทุกอย่างที่เพิ่งตนเองได้ จะมีเวลาพอ
    หน้า 55 อาจจะหมายถึง ปี 55 ถ้าออกเดินทางและเตรียมการปีนี้ก็ยังไม่สายเกินไป สำหรับคนที่ยังไม่เคยทำการเกษตร อาจจะลำบากมากขึ้น ต้องลองผิดลองถูก การเพาะปลูกแต่ละอย่างก็ต้องใช้เวลา ต่อไปคงใช้เงินซื้ออะไรไม่ได้
    หน้า 56
    หน้า 57
    ปี 56 57 คงไม่ต้องเตรียมแล้วล่ะ ไปทางรถก็เตรียมเท้าเดิน ไปทางเรือก็เตรียมว่ายน้ำ ไปทางเครื่องบินเตรียมสร้างปีกไว้ง่ายกว่า เพราะสนามบินคงใช้การไม่ได้

    อีกเหตุการณ์หนึ่งคือหน้า 16 17 มีการเผาบ้านเผาเมือง สองหน้านี้ใช้ม้าในการสู้รบน่าจะหมายถึงภายในประเทศ ยังไม่ต้องอพยพ
    เหตุการณ์ต่อไปอยู่หน้า 18 19 มีการใช้ม้ารบกันอาจหมายถึงในประเทศ และมีการใช้ช้างด้วย น่าจะเป็นสองประเทศมหาอำนาจ
    ถ้ามีเหตุการณ์สงครามภายในและภายนอก ต้องอพยพแล้ว
     
  3. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    From Khun CopperOxide ส่วนสัญลักษณ์ที่ผมยังไม่ได้ตีความหรือหาความหมายคือ หลายภาพใน พระราชนิพนธ์นั้น มักมีรูปบานพับปรากฏอยู่หลายหน้า ครับจุดนี้ผมมองอย่างนี้ครับว่า ที่ว่าเป็นบานพับนั้นผมก็เห็นเป็นเช่นนั้น กำแพงหรือผนังบานพับ คือ กรอบ กฏระเบียบ กติกาสังคม เหตุการณ์ต่างๆที่บังคับให้ทุกคนต้องทำ ซึ่งแต่ละคนล้วนมีหน้าที่อยู่แล้ว ในทางปฏิบัติสามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ไม่ให้ตึงเกินไปและไม่ให้หย่อนเกินควร ต้องรู้จักยืดหยุ่น แต่ทั้งหมดต้องไม่ผิดหลักการ บางรูปบางภาพที่เห็นก็เป็นประชาธิปไตยแบบตะวันตก คือคนชั่วเป็นใหญ่มีอำนาจ หรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นเมืองอวิชชาใช่หรือไม่ บางรูปบางภาพก็เป็นเมืองเทพเมืองสวรรค์หรืออาจจะเรียกได้ว่าเมืองอภิญญาธิปไตยคือจิตที่มีปัญญาธรรมเป็นใหญ่ก็พอจะเรียกได้ใช่หรือไม่ บางรูปบางภาพก็เป็นเมืองแห่งคุณธรรมหรืออาจจะเรียกได้ว่าธรรมาธิปไตยแบบประเทศไทย คือคนดีเป็นใหญ่มีอำนาจใช่หรือไม่ <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    From Khun CopperOxide มีแต่รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน พวกสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ก็มักปรากฏสอดแทรกเข้ามาในภาพหลายภาพเช่นกัน จุดนี้ผมมองว่าเป็น ภาพมิติที่เหนือโลก ที่ไม่ทราบได้ว่าหมายถึงอะไร คือมันเป็นปัญญาธรรมชั้นสูง ดังนั้น รูปเงาคนคือคนที่จะมาทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในยุคศิวิไลนั้น ย่อมไม่ใช่คนธรรมดาอย่างเราๆท่านๆที่ผ่านๆมาแน่นอน ต้องมีอะไรที่พิเศษๆที่เหนือคนปกติ ถ้าผมพิจารณาผิดพลาดประการใดผมขอขมาลาโทษด้วยนะครับ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    สรุปทั้งหมดที่กล่าวมาผมได้พิจารณาภาพปริศนาธรรมหลักๆ ที่เป็นรูปทรงปิรามิด <o:p></o:p>
    หน้า ๑๓๑ พิจารณาไปแล้วครับ<o:p></o:p>
    หน้า ๑๓๔ พิจารณาไปแล้วครับ<o:p></o:p>
    หน้า ๑๓๕ไม่ขออธิบายครับเพราะเป็นภาพต่อเนื่องกันกับหน้า ๑๓๔ ผมคิดว่าหลายๆท่านคงจะทราบกันดีแล้ว<o:p></o:p>
    หน้า ๑๔๒ ผมไม่ขอพิจารณาครับ ผมเชื่อว่าทุกๆท่านทราบกันดีอยู่แล้วครับ<o:p></o:p>
    หน้า ๑๔๓ ผมยิ่งไม่ขอพิจารณาครับ มิบังควร ผมเชื่อว่าทุกๆท่านทราบกันดีอยู่แล้วครับ<o:p></o:p>
    หน้า ๑๔๔ พิจารณาไปแล้วครับ<o:p></o:p>
    เมื่อเราพอที่จะเข้าใจปริศนาธรรมหลักๆแล้ว ก็ถือได้ว่าเรามีหลักแล้ว ได้ปักเสาลงไปในทะเล หรือมหาสมุทรแล้ว ซึ่งเป็นเสาที่สูงจากระดับน้ำทะเลเป็นพันๆเมตร เหมือนธรรมจักรซึ่งมีแกนกลางเป็นแกนหลัก ขอบล้อคือเหตุการณ์ต่างๆจะหมุนรอบแกนหลักที่เปลี่ยนแปรไปอย่างไรก็ตาม แกนหลักก็ไม่เปลี่ยน ไม่ว่าน้ำจะท่วม มรสุมจะเข้า สึนามิจะมา หรือจะเกิดเหตุการณ์บ้านเมืองในอนาคตจะอย่างไรก็ตาม จะเกิดกลียุคต่างๆก็ตาม จะเกิดอาเพศต่างๆก็ตาม ถึงแม้อนาคตประเทศไทยจะถูกแบ่งเป็นสองก็ตาม หรือแม้แต่ต่างชาติจะเข้ามารุกรานก็ตาม หรือข้าวเม็ดใหญ่จะกลับสู่เวียงจันทร์ก็ตาม แต่ ส่วนตัวผมมองว่าจะไม่พ้นจากในเรื่องพระมหาชนก และจะไม่พ้นจากปริศนาธรรมทั้งหมดที่หลายท่านๆผู้รู้พิจารณานี้ไปได้ หรือบางเรื่องบางราวที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตเราก็ต้องอดทนให้ถึงที่สุดอย่าได้พยายามใช้กำลัง ถ้าเราใช้กำลังเมื่อไหร่เรากำลังจะตกหลุมพรางเขาเมื่อนั้น เขาคือใคร หรือจะเกิดสงครามโลกครั้งที่๓ก็ตาม หรืออื่นๆขอให้ทุกท่านมีความเชื่อมั่นและศรัทธาว่า <o:p></o:p>
    เมืองมิถิลาไม่สิ้นคนดี”<o:p></o:p>
    และ<o:p></o:p>
    ขอจงมีความเพียรที่บริสุทธิ์ ปัญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ์”<o:p></o:p>
    หลังจากนี้ผมจะเข้าพิจารณาปริศนาธรรมรอง ซึ่งเป็นภาพพื้นหลังต่างๆ ของภาพปริศนาธรรมหลักที่เป็นรูปทรงปิรามิดนะครับ มันจะรวมถึงเหตุการณ์ภัยธรรมชาติต่างๆ ภัยการเมืองภายในและภายนอก ภัยสงครามโลก ภัยเศรษฐกิจ ภัยสังคม และอื่นๆเข้าด้วยกันอาจจะเป็นเกาเหล่าหรือไม่ก็จับฉ่ายก็ได้นะครับ ทำไมผมถึงพูดเช่นนั้นเพราะตอนนี้เชือกแต่ละเส้นแต่ละเรื่องกำลังจะขาด ต่างคนก็ต่างดึงต่างฝ่ายก็ต้องการชนะกันทั้งนั้นไม่มีใครอยากที่จะเป็นผู้แพ้ แต่ละฝ่ายก็รอจังหวะแต่ก็ไม่รู้ว่าจะอดทนได้มากน้อยกันแค่ไหน แล้วเชือกเส้นไหนจะขาดก่อนกันก็ต้องมาดูวิเคราะห์กันครับ เพราะทุกอย่างมันมีเหตุมีผลของมัน ต้องเกิดสิ่งนั้นก่อนมันถึงจะเกิดสิ่งนี้ได้ ทุกอย่างมีขั้นมีตอนมีระดับ ไม่ใช่ว่าจู่ๆมีกุญแจรถจะขับรถออกไปเลยก็หาใช่ไม่ ต้องมีพื้นฐานในการฝึกหัดขับรถ หรือต้องเปิดประตูก่อน เสียบกุญแจ สตาร์ทเครื่อง อื่นๆอีกหลายอย่าง ครับทั้งหมดจะรู้ได้ก็ต้องอาศัยสื่อสารมวลชนนี่แหละครับเพราะเป็นกลุ่มคนที่มีปัญญามาก รู้ทิศทางของกระแสโลก แต่ต้องเป็นสื่อที่เลือกข้างนะครับ เลือกข้างที่จะอยู่กับคนไทยหัวใจคนไทย เลือกข้างที่จะอยู่กับในหลวงนะครับ <o:p></o:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. CopperOxide

    CopperOxide เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +289
    เท่าที่ความ(พอ)รู้อันจำกัดจำเขี่ยพอที่จะสืบเสาะหาข้อมูลมาได้บ้าง

    "บานพับ" ที่ปรากฏใน พระราชนิพนธ์ พระมหาชนก ในหลายๆภาพนั้น โดยความคิดเห็นส่วนตัวผมคาดว่า ศิลปินผู้วาดอาจได้รับแรงบันดาลใจ(ส่วนหนึ่ง)มาจาก ภาพจิตรกรรม-งานประติมากรรม แบบตะวันตก โดยในอดีตศิลปินชาวตะวันตกเริ่มประดิษฐ์รังสรรค์งานจิตรกรรมบนบานพับภายใต้ความเชื่อความศรัทธาในศาสนาคริสต์ โดยศิลปินชาวตะวันตกเหล่านั้นมักเขียนภาพประวัติหรือเหตุการณ์สำคัญทางศาสนา เช่น ภาพนักบุญ,พระแม่มารี, ภาพพระเยซูถูกตรึงไม้กางเขน,ความเชื่อเรื่องพระเจ้าเป็นต้น ประดับไว้ตามแท่นบูชาในศาสนสถานต่างๆ คงคล้ายกับ ภาพพุทธประวัติตามวัดวาอารามในประเทศไทย

    ภาพจิตรกรรมแบบบานพับนั้น มีสองประเภท ได้แก่
    แบบสามบานพับ (Triptych) และแบบหลายบานพับ(Polytych)
    แต่ลักษณะที่คล้ายกันคือทั้งสองแบบจะมีภาพหลัก อันได้แก่ ภาพตรงกลาง ซึ่งอาจมีขนาดใหญ่หรือเป็นภาพที่เป็นหัวใจหรือแกนหลักในการบอกเล่าเรื่องราวนั้นๆ ส่วนที่เรียกว่า “ปีก” ก็คือภาพด้านข้างทั้งสองด้านที่สามารถพับหรือแผ่ออกไปได้ กลไกในการพับของภาพจิตรกรรมแบบบานพับนี้เชื่อกันว่า เป็นงานซึ่งสะท้อนภาพลักษณ์ภายในและภายนอก ลักษณะแบบปริศนาธรรม ภาพถูกพับเก็บลงจะสื่อความหมายอีกแบบ แต่เมื่อคลี่บานพับออกมาก็(อาจจะ)สื่อความหมายได้อย่างหนึ่ง ดังนั้นความสมบูรณ์ของงานจิตรกรรมแบบบานพับนั้น ต้องประกอบด้วย “ภาพหลัก” และ “ปีก” โดยส่วนปีกจะช่วยในการขยายความของภาพหลัก

    งานจิตรกรรมแบบบานพับที่มีชื่อเสียงมากอีก คือ Ghent Altarpiece รูปภาพที่แนบ มีทั้งบานพับปิดและเปิด

    Credit ภาพจาก
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif][if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif][if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]aiwaz.net[/FONT][FONT=&quot] [/FONT] และ <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif][if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif][if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]themasterpiececards.com[/FONT]


    นี่คือแบบตะวันตกนะครับ ครานี้ในรูปแบบบานพับของชาวตะวันออก นั้นคาดว่าคงแพร่หลายในสมัยโบราณสมัยมีการค้าระหว่างอาณาจักรหรือประเทศ โดยการติดต่อค้าขายทางเรือ กลุ่มประเทศจีน ญี่ปุ่น น่าจะเป็นชาติแรกๆที่ สร้างงานบานพับขึ้นมา ซึ่งถ้าเคยดูภาพยนตร์จีนหรือญี่ปุ่นแบบโบราณ ก็มีปรากฏให้เห็นเช่นกัน แต่ลักษณะของบานพับนั้นจะใช้ตกแต่งในสถานที่พักอาศัย โดยใช้ปิดบังอำพรางในส่วนใดส่วนหนึ่งของสถานที่ วัสดุหลักที่ใช้ทำเป็นไม้และกระดาษ ลวดลายหรือภาพเขียนบนบานพับก็จะเป็นได้ทั้งลวดลายประจำชาติ ดอกเหมย ดอกพิกุล เอ้ย ไม่ใช่ :) ดอกซากุระ หรือแม้แต่ภาพหญิงสาว นักรบ ซามูไร มังกร หงส์ แล้วแต่ศิลปินชาตินั้นๆจะรังสรรค์กันมา แม้แต่ในประเทศไทยเองก็มีการใช้บานพันมาตั้งแต่ในอดีต แต่เป็นลักษณะของแผ่นไม้แกะสลัก ถ้าเคยดูภาพยนตร์เรื่อง (พระศรี)สุริโยไท หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวร ก็จะปรากฏบานพับเข้าฉากอยู่ทั้งฝ่ายอโยธยาและฝ่ายพม่ารามัญ



     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กุมภาพันธ์ 2012
  6. CopperOxide

    CopperOxide เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +289
    ภาพบานพับของแท่นเกนท์ แบบเปิด (โพสแบบปิดกับแบบเปิดพร้อมกันไม่ได้ ไม่รู้ทำไม สงสัย เนตช้า แฮะ :))
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    เรื่องภัยพิบัติในเรื่องพระมหาชนกนั้น ทุกคนย่อมรู้ดีแก่ใจอยู่แล้วว่ามันจะเกิดในประเทศไทยเราแน่นอน ยิ่งผมพิจารณายิ่งเห็นความจริง ยิ่งเห็นภาพ ยิ่งสะเทือนใจ ทำให้ไม่อาจพูด ไม่อยากบอก ไม่อยากเขียน รู้สึกเหนื่อ และเศร้าใจยิ่งนัก มันเห็นด้วยปัญญาธรรม มันรู้ด้วยจิตด้วยใจ ว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร ผมยังไม่รู้ตัวเองเลยว่าจะรอดพ้นภัยพิบัติระยะที่๑ ภัยพิบัติระยะที่๒ ไปได้หรือไม่ มันน่ากลัวยิ่งนัก ก่อนที่ข้าพเจ้าจะเข้าใจเรื่องราวมากมายต่างๆเหล่านี้ได้นั้น ข้าพเจ้าต้องไปขอบารมีธรรมจาก พระเทพโลกอุดรองค์ที่๕ หรือหลวงพ่อโอภาสีแห่งอาศรมบางมด เพื่อให้รู้เท่าทันกับเหตุการณืต่างๆที่มันกำลังเกิดขึ้น เพื่อเป็นส่วนน้อยนิด พอที่จะแจ้งเตือนบอกกล่าวกันให้เข้าใจสำหรับคนบุญ เมื่อถึงเวลาคนบุญต้องมีหน้าที่รอท่านทั้งหลายอยู่จริงๆ ยิ่งผมพิจารณาแจ้งเตือนโดยแจงจ่ายเอกสารที่ อาศรมโอภาสี เรื่อง ตารางภัยพิบัติภัยธรรมชาติ ยิ่งรู้ว่าผมพิจารณาถูกทางแล้ว ผมไม่ได้ทำงานคนเดียว ผมไม่ได้โดดเดี่ยว ยังมีลูกศินย์ลูกหาในสายธรรมของพระเทพโลกอุดรอีก คือ "บทกลอนฝากเตือนภัยพิบัติโลก" มาสนับสนุนได้จังหวะพอดีเลย ดีใจลึกๆถึงแม้จะไม่รู้จักกัน สิ่งที่ได้พิจารณาไปนั้นรู้ได้เองเลยว่ามาถูกทาง ไม่ผิด เพราะผมได้เอาพระมหาชนกเข้าพิจารณาด้วย ตามด้วยพระแก้วมรกต ตามด้วยพระอภิญญา และอื่นๆมากกมาย หรือพระพุทธศาสนานำหน้า วิทยาศาสตร์เกื้อหนุนนั้น ข้าพเจ้าพิจารณาถูกต้องแล้ว ทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมด ตลอดจนความรู้ต่างๆจากผู้รู้มากมายที่ได้แจ้งใว้ ข้าพเจ้าเอามาพิจารณาสิ้น ยิ่งพิจารณายิ่งเห็นภาพ ทำให้ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไรดี ในสมองมันมีแล้วแต่เริ่มไม่ถูก เหตุการณ์มันเริ่มหนักขึ้นทุกวัน หลายต่อหลายเรื่อง ไว้ผมมีกำลังใจเมื่อไหร่ผมคงเข้ามาเริ่มพิจารณาต่อนะครับ
     
  8. CopperOxide

    CopperOxide เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +289

    ถึงจะมองไม่เห็นฝั่ง

    เราก็ต้องพยายามว่าย
    อยู่ท่ามกลางมหาสมุทร

    โภคะทั้งหลาย
    มิได้สำเร็จ
    ด้วยเพียงคิดเท่านั้น


    สคส พระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๕




    ด้วยความหวังว่า คงมีกำลังใจเพิ่มขึ้นนะครับ คุณแก้มแดง :)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กุมภาพันธ์ 2012
  9. apichart ww2

    apichart ww2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    337
    ค่าพลัง:
    +439





    <TABLE class="sites-layout-name-one-column sites-layout-hbox" cellSpacing=0><TBODY><TR><TD class="sites-layout-tile sites-tile-name-content-1">[​IMG]




    หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีดังต่อไปนี้
    1. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่งนั้น จะทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ ทั้งจากข้อมูลเบื้องต้น จากเอกสาร แผนที่ สอบถามเจ้าหน้าที่ นักวิชาการและราษฎรในพื้นที่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อที่จะพระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วตรงตามความต้องการของประชาชน
    2. ระเบิดจากข้างใน พระองค์ทรงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาคน ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อมที่จะรับเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชน หมู่บ้าน ที่ยังไม่ทันได้มีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว
    3. แก้ปัญหาที่จุดเล็ก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเปี่ยมไปด้วยพระอัจฉริยภาพในการแก้ปัญหา ทรงมองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาของพระองค์จะเริ่มจากจุดเล็ก ๆ คือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมักจะมองข้าม ดังพระราชดำรัสที่ว่า “…..ถ้าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออก…….. เป็นอย่างนั้นต้องแก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน……..มันไม่ได้เป็นการแก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้อยู่ในสภาพที่คิดได้…….แบบ Macro นี้เขาจะทำแบบรื้อทั้งหมด ฉันไม่เห็นด้วย……… อย่างบ้านคนอยู่ เราบอกบ้านนี้มันผุตรงนั้น ผุตรงนี้ไม่คุ้มที่จะไปซ่อม…… เอาตกลงรื้อบ้านนี้ระเบิดเลย เราจะไปอยู่ที่ไหน ไม่มีที่อยู่………. วิธีทำต้องค่อย ๆทำ จะไประเบิดหมดไม่ได้
    4. ทรงทำตามลำดับขั้น “…การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ที่อารยประเทศกำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงในเวลานี้…”
    5. ภูมิสังคม “…การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศ ภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของคนเราจะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนำ เราเข้าไป ไปช่วยโดยที่จะคิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริง ๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง…”
    6. องค์รวม ทรงมีชีวิตคิดอย่างองค์รวม (Holistic) หรือมองอย่างครบวงจร ในการที่จะพระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้นจะทรงมองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ดังเช่น กรณีของ “ทฤษฎีใหม่” ที่พระราชทานให้แก่ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพนับเป็นแนวทางหนึ่งที่พระองค์ทรงมองอย่างองค์รวม ตั้งแต่การถือครองที่ดิน โดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทยประมาณ ๑๐ – ๑๕ ไร่ เพื่อการบริหารจัดการที่ดิน และแหล่งน้ำอันเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการประกอบอาชีพ เมื่อมีน้ำในการทำเกษตรแล้วจะส่งผลให้ผลผลิตดีขึ้น และหากมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรจะต้องรู้จักวิธีการจัดการและการตลาด รวมถึงการรวมกลุ่ม รวมพลังชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อพร้อมที่จะออกสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้อย่างครบวงจร นั่นคือ ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ ๑, ๒ และ ๓
    7. ไม่ติดตำรา การพัฒนาตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลมและรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน คือ “ไม่ติดตำรา” ไม่ผูกมัดติดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทย
    8. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ในเรื่องของความประหยัดนี้ ประชาชนชาวไทยทราบกันดีว่าเรื่องส่วนพระองค์ทรงใช้อย่างคุ้มค่าอย่างไร หรือฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยู่เป็นเวลานานดังที่นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เคยเล่าว่า “...กองงานในพระองค์โดยท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ บอกว่าปีหนึ่งพระองค์เบิกดินสอ 12 แท่ง เดือนละแท่งใช้จนกระทั่งกุด ใครอย่าไปทิ้งของท่านนะจะกริ้วเลย ประหยัดทุกอย่างเป็นต้นแบบทุกอย่าง ทุกอย่างมีค่าสำหรับพระองค์หมด ทุกบาททุสตางค์จะใช้อย่างระมัดระวัง จะสั่งให้เราปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ...”
    9. ทำให้ง่าย Simplicity ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำให้การคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานการพัฒนาเป็นไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และที่สำคัญคือสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศน์โดยส่วนรวมใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทาง ฉะนั้น คำว่า “ทำให้ง่าย”จึงเป็นหลักคิดสำคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศในรูปแบบของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
    10. การมีส่วนร่วม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักประชาธิปไตย “ประชาพิจารณ์” มาใช้ในการบริหาร เพื่อเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมกัน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องคำนึงถึงความคิดของประชาชน ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า “…สำคัญที่สุดจะต้องหัดทำใจให้กว้างขวางหนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาด เพราะการรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือการระดมสติปัญญาและประสบการณ์อันหลากหลาย มาอำนวยประโยชน์ในการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบความสำเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง….”
    11. ประโยชน์ส่วนรวม การปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทานพระราชดำริ ในการพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ
    12. บริการรวมที่จุดเดียว One-Stop Services ทรงเน้นในเรื่องการสร้างความรู้ รัก สามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงใจกันด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มักจะต่างคนต่างทำและยึดติดกับการเป็นเจ้าของเป็นสำคัญ ให้แปรเปลี่ยนเป็นการรวมมือกันแนวพระราชดำริ ในการดำเนินบริหารของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่มีอยู่ทั้ง 6 ศูนย์ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ นับเป็นรูปแบบใหม่ของการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยอย่างแท้จริงการพึ่งตนเอง
    13. ทรงใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติทรงมองอย่างละเอียดถึงปัญหาธรรมชาติ หากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ อาทิ การแก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรมได้พระราชทานพระราชดำริ การปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยในการฟื้นฟูธรรมชาติ
    14. ใช้อธรรมปราบอธรรม แนวปฏิบัติที่สำคัญในการแก้ปัญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ปกติให้เข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่น การนำน้ำดีขับไล่น้ำเสีย หรือเจือจางน้ำเสียให้กลับเป็นน้ำดี ตามจังหวะการขึ้นลงตามธรรมชาติของน้ำ การบำบัดน้ำเสียโดยใช้ผักตบชวาซึ่งมีตามธรรมชาติ ให้ดูดซับสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้ำ ดังพระราชดำรัสว่า “ใช้อธรรมปราบอธรรม”
    15. ปลูกป่าในใจคน พระราชดำรัสตอนหนึ่งความว่า “….เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง”
    16. ขาดทุนคือกำไร ขาดทุน คือ กำไร (Our loss is our gain…) การเสีย คือ การได้ ประเทศก็จะก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้...ต่อพสกนิกรชาวไทย “การให้” “การเสียสละ” เป็นการกระทำอันมีผลเป็นกำไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร....
    17. การพึ่งตนเอง “…การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพ และตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ก่อนอื่นเป็นสิ่งสำคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพ และฐานะเพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป…”
    18. พออยู่พอกิน การพัฒนาเพื่อให้พสกนิกรทั้งหลายประสบความสุขสมบูรณ์ในชีวิต ได้เริ่มจากการเสด็จฯไปเยี่ยมประชาชนทุกหมู่เหล่าในทุกภูมิภาคของประเทศ ได้ทอดพระเนตรความเป็นอยู่ของราษฎรด้วยพระองค์เอง จากนั้นได้พระราชทานความช่วยเหลือให้มีความอยู่ดีกินดี มีชีวิตอยู่ในขั้น “พออยู่พอกิน” ก่อน แล้วจึงขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะที่ก้าวหน้าต่อไป ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า “ ถ้าโครงการดี ในไม่ช้า ประชาชนก็ได้กำไร จะได้ผลราษฏรจะอยู่ดีกินดีขึ้น จะได้ประโยชน์ไป...”
    19. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด มานานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆโดยยึดหลักทางสายกลางพอเพียง พอประมาณด้วยเหตุผล มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีสำนึกในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริตดำเนินชีวิตด้วยความอดทนมีสติปัญญา รอบคอบ
    20. ความซื่อสัตย์ สุจริต และกตัญญู “…คนที่ไม่มีความสุจริต คนที่ไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มักง่าย ไม่มีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวมที่สำคัญอันใดได้ ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้นจึงจะทำงานสำคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณเป็นประโยชน์แท้จริงได้สำเร็จ….”พระราชดำรัสเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2522
    ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้ มากกว่าผู้มีความรู้มากแต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ….” พระราชดำรัสเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2533
    21. ทำงานอย่างมีความสุข พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระเกษมสำราญและทรงมีความสุขทุกคราที่จะช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคยรับสั่งครั้งหนึ่งว่า...ทำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทำประโยชน์ให้กับผู้อื่น...
    22. ความเพียร :พระมหาชนก พระบาทสมเด็จอยู่หัว ทรงเริ่มทำโครงการต่างๆในระยะแรกที่ไม่มีความพร้อมในการทำงานมากนัก และทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ทั้งสิ้น แต่พระองค์ก็มิได้ท้อพระราชหฤทัย มุ่งมั่นพัฒนาบ้านเมืองให้บังเกิดความร่มเย็นเป็นสุข
    23. รู้ รัก สามัคคี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสในเรื่อง รู้ รัก สามัคคี มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นคำสามคำ ที่มีค่าและมีความหมายลึกซึ้ง พร้อมทั้งสามารถปรับใช้ได้กับทุกยุด ทุกสมัย
    รู้ การที่เราจะลงมือทำสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหาและรู้ถึงวิธีการแก้ปัญหา
    รัก คือความรักที่เมื่อเรารู้ครบด้วยกระบวนความแล้วจะต้องมีความรัก ความพิจารณาที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้น ๆ
    สามัคคี สามัคคี แต่การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคำนึงเสมอว่าเราจะทำงานคนเดียวไม่ได้ ต้องทำงานร่วมมือร่วมใจเป็นองค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปด้วยดี
    การทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยึดการดำเนินงานในลักษระทางสายกลางที่สอดคล้องกับสิ่งที่อยู่รอบตัว และสามารถปฏิบัติได้จริง ทรงมีความละเอียดรอบคอบและทรงคิดค้นหาแนวทางพัฒนาเพื่อมุ่งสู่ประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุด

    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    • หนังสือ สำนักงานคณะกรรมการการพิเศษเพื่อประสานโครงกการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



    ที่มา: คลังปัญญาไทย

    https://sites.google.com/site/peplemapping/panya

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กุมภาพันธ์ 2012
  10. CopperOxide

    CopperOxide เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +289
    9จ.ภาคเหนือยังเผชิญปัญหาหมอกควันเกินค่ามาตรฐาน

    กรมควบคุมมลพิษ รายงานผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในภาคเหนือ วันนี้ (9 มี.ค.) พบว่า มี 9 จังหวัด ที่มีปัญหาหมอกควันเกินค่ามาตรฐานคือ จ.เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน ตาก และพะเยา โดยเฉพาะที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย วัดค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กได้สูงถึง 307 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จัดอยู่ในขั้นอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะที่จังหวัดเชียงรายยังถูกปกคลุมด้วยหมอกควัน ซึ่งเป็นผลมาจากไฟป่าในหลายจุด ทั้งป่าตามเส้นทางสายเชียงราย-เชียงใหม่ ทำให้ทัศนวิสัยเหลือเพียง 2 กิโลเมตร ขณะที่คุณภาพอากาศเกินค่ามาตรฐาน โดยในอำเภอเมืองวัดได้ 216 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร


    ที่มาข่าว : ฐานเศรษฐกิจ


    ที่มาของภาพ : พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เรื่อง พระมหาชนก หน้าที่ ๑๓๔ และ ๑๓๕
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • TheMist01.JPG
      TheMist01.JPG
      ขนาดไฟล์:
      105.9 KB
      เปิดดู:
      234
  11. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    บทกลอนฝากเตือนภัยพิบัติโลก จากหลวงปู่เทพโลกอุดรแจ้งไว้แก่หลวงปู่ภารตะฤาษี(บัวขาว) ดังนี้<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:shapetype id=_x0000_t75 stroked="f" filled="f" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" o:preferrelative="t" o:spt="75" coordsize="21600,21600"><v:stroke joinstyle="miter"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"></v:f><v:f eqn="sum @0 1 0"></v:f><v:f eqn="sum 0 0 @1"></v:f><v:f eqn="prod @2 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @0 0 1"></v:f><v:f eqn="prod @6 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="sum @8 21600 0"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @10 21600 0"></v:f></v:formulas><v:path o:connecttype="rect" gradientshapeok="t" o:extrusionok="f"></v:path><o:lock aspectratio="t" v:ext="edit"></o:lock></v:shapetype><v:shape id=_x0000_i1025 style="WIDTH: 170.25pt; HEIGHT: 281.25pt" alt="หลวงปู่เทพโลกอุดร" o:button="t" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image001.jpg" o:href="http://palungjit.org/attachments/a.1246084/"></v:imagedata></v:shape><o:p></o:p>
    ขอขอบคุณรูปภาพจาก http://palungjit.org<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ขอยกกลอน สอนใจ ในยามยาก ช่วงลำบาก ไว้เป็น อุทาหรณ์
    โลกทั้งโลก กำลัง จะสั่นคลอน เพื่อสะท้อน ผลกรรม คนทำมา
    จากวันนี้ ต่อไป ภายภาคหน้า ในไม่ช้า วิบากกรรม วิ่งเข้าหา
    ให้โหยหวน คร่ำครวญ แสนเวทนา คนทั่วหล้า ต่างล้มหาย ตายเป็นเบือ

    หากไม่เชื่อ ให้เผ้าดู จะรู้สึก ต้องสะอึก เมื่อไม่มี สิ่งใดเหลือ
    ทุกวันนี้ มีใช้ อย่างเหลือเฟือ จะไม่เหลือ ให้ใช้ ในบัดดล
    คนหลายคน วกวน เพื่อเสพสุข ไม่เคยทุกข์ ร้อนใจ ให้ขัดสน
    เฝ้าเอาเปรียบ เบียดเบียน หมู่ผู้คน ไม่เคยสน เวรกรรม มันมีจริง

    ไม่ว่าใคร ใดใด ในโลกนี้ ชั่วหรือดี ทุกเยาว์วัย ชายหรือหญิง
    สัจธรรม เท่านั้น คือความจริง ทุกสรรพสิ่ง หนีไม่พ้น ผลของกรรม
    คนคิดดี ทำดี ย่อมมีสุข พ้นกองทุกข์ ชีวี ไม่แปรผัน
    พาพ้นทุกข์ สิ้นวิบัติ ในฉับพลัน บุญเท่านั้น ที่หนุนนำ คนทำดี<o:p></o:p>
    ผิดกับคน ที่ทำผิด และทำพลาด ต้องถึงฆาต บาปกรรม ซ้ำเป็นผี
    ครั้งอยู่ดี มีสุข ไม่ใฝ่ดี พอจะม้วย ชีวี แล้วใฝ่บุญ
    กุศลหนุน บุญใด ไหนจะช่วย มีแต่ซวย เท่านั้น ที่เกื้อหนุน
    เกิดเป็นคน ไม่เคยคิด ตอบแทนคุณ จะเอาบุญ ที่ไหน มานำพา

    อีกไม่นาน ก็ถึง กึ่งพุทธะ เป็นจังหวะ รอยต่อ ศาสนา
    สิ่งทุกสิ่ง ย้อนกลับ สู่เวลา ทรัพย์ไร้ค่า คนยึดจิต อภิญญา
    ถิ่นกาขาว ยาวนาน จะผันผ่าน พระศรีอารย์ อริยะเมตไตร เข้ามาหา
    ศรีวิไล ใฝ่ธรรม ทุกเวลา เทวดา ปกป้อง ตลอดกาล

    อยากอยู่ดี มีสุข ถึงยุคนั้น ต้องช่วยกัน สร้างกรรมดี ไว้สืบสาน
    ภัยวิบัติ โลกสลาย อีกไม่นาน สิ้นคนพาล เหลือคนดี ไม่กี่คน
    คำยืนยัน ปู่ฤาษี ภารตะ ให้สละ อย่ายึดมั่น อย่าสับสน
    ให้รู้ไว้ ภัยจะถึง ทุกตัวตน ให้ทุกคน หลบลี้ หนีออกมา

    การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ จะบังเกิด จำไว้เถิด จะสิ้นยุค กลุ่มเศรษฐี
    ที่คดโกง ฉกฉวย จนได้ดี จะสิ้นที หมดท่า พาตรอมตรม
    บาปและกรรม ตามซ้ำ ไม่ย่อหย่อน กินหรือนอน เดินนั่ง ช่างขื่นขม
    ถึงรวยทรัพย์ เคยยิ่งใหญ่ ยิ่งระทม ก็จะล้ม จมดิ้น สิ้นกันไป

    จากสี่เก้า เข้าถึง ปีหกสอง ฟ้าจะร้อง คำราม สุดหวั่นไหว
    ธรณี จะโกรธ เป็นพื้นไฟ พระพรายไซร้ จะถามโถม โจมตีเรา
    พระคงคา จะไหลบ่า หุ้มเปลือกโลก ดาวนอกโลก พุ่งชน คนอับเฉา
    ให้รีบลุก และตื่น เถิดพวกเรา รีบเดินหน้า ถึงธรรม ค้ำชีวา

    ภาคกลางหนึ่ง ใต้หนึ่ง พึ่งจำไว้ จมอยู่ใต้ คงคา แน่นักหนา
    ผืนแผ่นดิน คลุมด้วยน้ำ สุดลูกตา ชาวประชา ไร้แผ่นดิน สิ้นชีพวาย
    เหนืออีสาน ตอนล่าง ต่างรันทด แผ่นดินลด หดหู่ ไม่รู้หาย
    เหลือก็น้อย คนบุญ ที่รอดตาย นอกนั้นไซร้ ไร้ชีวิต วิบัติภัย

    บนท้องฟ้า มืดมน ฝนห่าใหญ่ ห่อหุ้มไว้ เจ็ดราตรี อรุณฉาย
    สัตว์เล็กใหญ่ ดับดิ้น แทบวอดวาย ที่ไม่ตาย กลายมีพิษ ปลิดชีพกัน
    พายุลม สลาตัน นับว่าร้าย ก็ไม่ว่าย ต้องแพ้ ลมกรรมหันต์
    ฝนที่ไหน พัดที่ใด ตายฉับพลัน ไม่มีควัน มีแต่พิษ ชีวิตวอดวาย

    พลังจากนั้น คนที่เหลือ จะแปรเปลี่ยน บำเพ็ญเพียร ภาวนา ไม่ขาดสาย
    ทุกข์และโศก โลกมนุษย์ จะผ่อนคลาย ศรีอริยะเมตไตร จะบรรเจิด เกิดขึ้นพลัน
    สร้างมนุษย์ สร้างโลก ให้ผุดผ่อง ตามครรลอง ศรีวิไล ให้เฉิดฉันท์
    สิ้นทุกข์โศก โรคภัย ไม่โรมรัน จิตเท่านั้น ที่วัดใจ ให้อยู่ยืน

    ทรัพย์เงินทอง ก่ายกอง เต็มไปหมด ช่างรันทด ไม่มีค่า เท่าผ้าผืน
    สิ่งที่หา และใฝ่ ทุกวันคืน ที่ยั่งยืน คือจิต ผ่องอำไพ
    อาศัยกรรม ทำดี ช่วยชูค้ำ ให้ได้นำ สู่ภิญญา น่าสดใส
    ทั้งอิ่มเอิบ อิ่มกาย อิ่มจิตใจ พระยาธรรม นั่นไซร้ คือกฏเกณฑ์

    หากไม่เชื่อ สิ่งที่กล่าว ชาวโลกเอย จำไว้เลย นี่คือแท้ แน่นักหนา
    เฝ้าติดตาม การเปลี่ยนแปลง ทุกเวลา จะรู้ว่า เริ่มตั้งเค้า เข้าสู่กาล
    หายุโหม น้ำท่วม แผ่นดินไหว โลกทั้งใบ ไม่แน่น ไร้แก่นสาร
    ธาตุดินน้ำ ลมไฟ ถูกรุกราน จากวิญญาน กาลอดีต กรีดทำลาย

    คนทั่วโลก จะพบ ภัยพิบัติ สารพัด ปัญหา ให้แก้ไข
    ทั้งเรื่องโลก เรื่องคน จนวุ่นวาย แก้อย่างไร ก็ไร้ค่า พาล้มครืน
    เป็นด้วยเหตุ อาเพศ โลกใบนี้ ถูกย่ำยี จากมนุษย์ สุดทนฝืน
    มุ่งทำลาย ล้างผลาญ ทุกค่ำคืน ไม่อาจฝืน ขืนปล่อยไว้ ใจโลกตรม

    มอบให้เหล่าท่านทั้งหลายได้พิจารณา เห็นอย่างไรก็พูดอย่างนั้น ด้วยสติปัญญาของตนเอง

    จากหลวงปู่ ภารตะ ฤาษี (บัวขาว)
    ผู้ประพันธ์ คุณฐิติศักด์ ฐิติพงศ์ทัพพ์<o:p></o:p>
     
  12. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    อิติสุคโต อะระหังพุทโธ นะโมพุทธายะ ปฐวีคงคา พระภุมิมะเทวา ขะมามิหัง
    <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p>
    หลวงปู่เทพโลกอุดรองค์ที่๕ (โอภาสี)<o:p></o:p>
    เรื่องภัยพิบัติที่ร้ายแรงนั้น ผมขอแบ่งออกเป็น ๒ ระยะใหญ่ๆคือ <o:p></o:p>
    ภัยพิบัติที่ร้ายแรงระยะที่ ๑ คือ ๒๕๕๕, ๒๕๕๖, ๒๕๕๗ แต่ได้ถูกเลื่อนออกไปอีก ๑ ปีคือ ๒๕๕๘ ดังนั้นเรามีเวลาเตรียมตัวได้อีก ๑ปีคือปีนี้ ๒๕๕๕ ดังนั้นให้เข้าใจตรงกันก่อนนะครับว่า เฉพาะภัยพิบัติร้ายแรงระยะที่ ๑ เท่านั้น กรุณาอย่าหลงทางนะครับ ระยะเวลาที่ผมได้กล่าวนี้นั้น เลื่อนไม่ได้อีกแล้วนะครับ ในทางปฏิบัติ พ่อฯ… ได้ยืดหยุ่นให้คนบุญแล้วนะครับ ดังนั้น ภัยพิบัติที่ร้ายแรงระยะที่ ๑ เป็นเพียงภัยที่เกิดจากภายนอกนะครับ เช่น ตึกถล่ม แผ่นดินยุบ แผ่นดินไหว อื่นๆ หรือตามปู่ฤษีมณีรัตน์(สมเด็จรุ่ง)ทำนาย ดังนั้นระดับสติปัญญา ระดับใจจะถูกยกขึ้นเพื่อให้คนบุญพิจารณาตามไป ดังนั้นให้เข้าใจก่อนว่าที่เราๆท่านๆกลัวในระยะนี้คือ สึนามิในอ่าวไทยเท่านั้นนะครับ ดังนั้นถ้าสึนามิในอ่าวไทยเกิดเมื่อไหร่นั้น ข้าพเจ้าได้แจ้งบอกไปแล้ว หรือให้สังเกตว่า ก่อนสึนามิจะเกิดจะเห็นผู้คนส่วนใหญ่กำลังอพยพกันครั้งใหญ่ที่สุด แต่ละคนล้วนมีพ่อแม่ครูอาจารย์กันทั้งนั้น ท่านไม่ปล่อยลูกศิษย์ลูกหาให้ตายหรอก จะรู้กันในวงแคบๆเท่านั้น ส่วนคนที่ไม่เชื่อก็ปล่อยเขา ดังนั้นระยะนี้ให้ท่านสังเกตพ่อแม่ครูอาจารย์ให้ดี ท่านก็จะคัดคนไม่ดีหรือลูกศิษย์เทียมออกไปให้ถอยห่างไป คนดีที่พอจะมีบุญก็จะเข้ามาแทน ดังนั้นคนที่จะเข้าถึง พ่อฯ… นั้นยากมาก <o:p></o:p>
    ครับ เรื่องโหราศาสตร์นั้น ใช้ได้ในเหตุการณ์ที่ปกติเท่านั้นนะครับ ไม่สามารถพิจารณาที่ลึกได้อีกแล้วในยามที่ไม่ปกติ เราต้องใช้ปัญญาธรรม ใช้จิต ใช้อภิญญาในการพิจารณาเท่านั้นนะครับ ข้อนี้ให้ท่านทั้งหลายพิจารณาให้ถ่องแท้นะครับ ให้เข้าใจตรงกันก่อนนะครับว่าทิศทางหรือกระแสโลกกำลังเปลี่ยน ผมต้องเกริ่นนำก่อนนะครับเพื่อให้เข้าใจองค์รวมก่อนนะครับแล้วค่อยๆเจาะประเด็น มันจะเข้าใจง่าย ผมจะฉายให้เห็นภาพปริศนาธรรมในเรื่องพระมหาชนกว่า ในหลวงนั้นท่านทรงปราช์ญเปรื่องมาก<o:p></o:p>
    ภัยพิบัติที่ร้ายแรงระยะที่ ๒ คือ ๒๕๖๐, ๒๕๖๑, ๒๕๖๒ ระยะนี้ก็จะเป็นเรื่องจิตเรื่องใจที่ คนบุญต้องผ่านให้ได้ ต้องยกระดับจิตใจให้ได้ เหตุการณ์ในภัยพิบัติร้ายแรงระยะที่ ๑ นั้นจะบังคับให้คนบุญต้องหันพึ่งพระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ ตลอดจนพ่อแม่ครูอาจารย์ “ทรัพย์ไร้ค่า คนยึดจิต อภิญญา” เมื่อทุกคนใฝ่ธรรมทุกเวลา เมื่อทุกคนมีความเชื่อมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาแล้ว ซึ่งจะถูกทดสอบด้วยภัยพิบัติที่ร้ายแรงระยะที่ ๒ คือ ป็นเรื่องของเจ้ากรรมนายเวรที่เคยได้ทำกรรมหรือสร้างกรรมกันมาในอดีต จะถูกชำระความกันในช่วงนี้ เหมือนเงาที่ติดตามตัวจะหนีไปไหนก็ไม่พ้นคนทำอะไรไว้ก็ต้องได้รับผลของกรรมนั้นๆ พ่อแม่ครูอาจารย์ก็ไม่สามารถช่วยได้ ตรงนี้ข้าพเจ้าไม่สามารถแจ้งได้ ยังไม่ถึงเวลา หรือยังไม่ถึงเวลาที่จะแจ้งได้ รอให้เกิดภัยพิบัติที่ร้ายแรงระยะที่ ๑ ตามที่ผมกล่าวมาก่อนแล้วค่อยตัดสินใจอีกที ดังนั้นรอยต่อศาสนาจะอยู่ในช่วงภัยพิบัติที่ร้ายแรงระยะที่ ๑ ถึง ๒ <o:p></o:p>
    ครับที่เกรินนำมานี้ ถ้าท่านยังไม่เข้าใจ ผมจะพิจารณา details ในเรื่องพระมหาชนก ลึกลงไปตามลำดับ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้นครับ ดังนั้น เรามีเวลายืดหยุ่นเพียงแค่ 1ปี คือปี ๒๕๕๙ (ทำไมต้อง ๒๕๕๙ ตรงจุดนี้ผมจะไม่ขออธิบาย ทุกอย่างมีเหตุมีผล มีขั้นมีตอน ขอให้ท่านทั้งหลายพิจารณาก็จะเห็นเอง) เท่านั้นในการอบรมจิต อบรมใจ ตลอดจนการปรับตัว และอื่นๆ หรือกักตุนเสบียงบุญ เสบียงอาหาร ให้พร้อมที่จะเจอเรื่องที่ร้ายแรงที่สุดของแต่ละคน กรรมใครกรรมมัน ครับผมเชื่อมั่นว่ามีผู้รู้หลายท่านรู้ <o:p></o:p>
    </o:p> ​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  13. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    สคส.พระราชทาน ๒๕๔๗
    เมื่อพ่อหลวงท่านทรงเล็งเห็นว่า ภัยกำลังมาถึงตัว เนื่องเพราะ มีระเบิดเกือบทั่วโลก พ่อเห็น...พ่อก็เลยบอกลูกๆว่า สงครามโลกครั้งที่ ๓ กำลังใกล้เข้ามาแล้วนะ อีก ๑๐ปีเท่านั้นนะลูก ๒๕๔๗+๑๐ เท่ากับ ๒๕๕๗ ครับ
    สคส. นี้เมื่อเราพิจารณาลึกลงไปอีกเราจะเห็นว่า เป็นสงครามของสองมหาอำนาจ ซึ่งถ้าเขารบกันเมื่อไหร่ย่อมมีผลกับคนไทยไม่มากก็น้อย แต่มันก่อให้เกิดผลเสียกับคนไทยมากกว่า เหตุเนื่องจาก การเมืองภายในของเราเองไม่มั่นคง ทำไมไม่มั่นคง ผมเชื่อมั่นว่าหลายๆท่านทราบกันดีอยู่แล้วผมคงไม่ขออธิบายนะครับ เมื่อภายในเราไม่แข็งแรง ผลที่ได้นั้นย่อมมีผลเสียมากมาย ยิ่งถ้ามีมือที่ ๓ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยมันจะไปกันใหญ่...
    พ่อได้บอกทางรอดและทางออกที่ดีที่สุดไว้ให้คนไทยทุกคนคือ สามัคคีเป็นพลัง ค้ำจุนแผ่นดินไทย
    ธงชาติ ซึ่งมีอยู่ 2 ธงชาติหลักใหญ่ๆ นี้คือ ธงชาติ พญาอินทรีย์ ซึ่งเป็นตัวแทนของชาติตะวันตก เป็นมหาอำนาจหลัก และอีกธงชาติหนึ่ง ก็คือ ธงชาติ พญามังกร ซึ่งเป็นตัวแทนของชาติตะวันออก ก็กำลังจะเป็นมหาอำนาจหลักต่อไป
    ชุดลูกดิ่งด้านซ้ายและด้านขวา คือ ดุลย์แห่งอำนาจ ซึ่งคานกันไปก็คานกันมา แต่หาเสา หรือจุด support หามีไม่ ซึ่งเป็นคานลอย หาหลักประกันอะไรไม่ได้เลยว่าจะล้มเมื่อไหร่ แต่มันสำคัญตรงที่ว่า เขามาคะคานกันในภูมิภาคที่เราๆท่านๆได้อยู่อาศัยนี้ ทุกอย่างมีมาแต่เหตุ เมื่อมีเหตุ ก็ต้องมีผล ใช่ไหมครับ...
    เสาธงชาติที่อยู่ในแนวดิ่ง(แกนY) และฐานธงชาติที่อยู่ในแนวนอน(แกนX) คือพื้นที่และผลประโยชน์ที่มหาอำนาจต้องการยึดครอง หรือมาหลายๆรูปแบบ ทั้งนโยบาย เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่นๆเพื่อให้ได้เปรียบในทุกๆทาง
    ที่เป็นลายจุดๆ หรือเรียกว่า ตีนไก่ หรือ checker plate ก็พอจะเรียกได้ คือ อิทธิพลที่มหาอำนาจยึดได้แล้ว ก็มาได้หลายรูปแบบ ใครจะแบ่งพรรค แบ่งฝ่ายแบ่งพวก หรือแบ่งผลประโยชน์ต่างๆ ตรงนี้ผมเชื่อมั่นว่ามีผู้รู้หลายท่านคงจะทราบกันแล้ว
    พื้นที่ในอ่าวไทยที่มี แกนX, Y ตลอดจนไม่มี รอยตีนไก้ คือ มหาอำนาจต้องการที่จะยึดให้ได้ ในปัจจุบันยังตกลงกํนไม่ได้ ยังยึดแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดก็หาไม่ ซึ่งเขาก็จ้องอยู่ ตรงนี้ผมเชื่อมั่นว่ามีผู้รู้หลายท่านคงจะทราบกันแล้ว
    พื้นที่สีขาวที่เป็นรูปประเทศไทย คือ เหลือประเทศไทย ประเทศเดียวที่เขากำลังจะยึด มหาอำนาจได้แผ่อิทธิพลและปิดล้อมไทยไว้ ตลอดจนพญาอินทรีย์กำลังปิดล้อม พญามังกร ในทุกๆทาง ดังนั้นประเทศไทยจะเลือกอยู่ฝ่ายไหน ถ้าสงครามโลกครั้งที่ ๓ เกิดขึ้น <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. CopperOxide

    CopperOxide เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +289
    [FONT=&quot]ในพระราชนิพนธ์เรื่อง พระมหาชนก ตอนที่เรือของพระมหาชนก ได้ล่มลงด้วยคลื่น หลังจากที่เรือออกเดินทางล่วงมาถึง 7 [FONT=&quot]วัน เป็นระยะทาง [/FONT]700 [FONT=&quot]โยชน์ (หรือ [/FONT]3379.635 [FONT=&quot]กิโลเมตร) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ ตอนนี้ว่า
    [/FONT]
    [/FONT]
    [[FONT=&quot]เรือแล่นด้วยกำลังคลื่นร้ายกาจ ไม่อาจทรงตัวอยู่ได้ แผ่นกระดานก็แตกด้วยกำลังคลื่น มหาชนกลัวมรณภัย ร้องไห้คร่ำครวญ กราบไหว้เทวดาทั้งหลาย แต่พระมหาสัตว์ไม่ทรงกันแสง ไม่ทรงคร่ำครวญ ไม่ไหว้เทวดาทั้งหลาย][/FONT]

    [FONT=&quot]แสดงให้เห็นว่า ในช่วงนาทีชีวิตคาบเกี่ยวระหว่างความเป็นความตาย ได้ปรากฏให้เห็นถึงพฤติกรรมของผู้คนที่หวาดกลัวความตาย ที่มีทั้ง ร้องไห้คร่ำครวญ กราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เทวดาเพื่อขอชีวิตรอด แต่ก็ไม่มีใครสามารถรอดชีวิตได้ ผิดกับพระมหาชนก พระองค์แม้แต่หวังพึ่งพิงเทวดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ก็หาได้ทรงกระทำไม่ พระองค์ทรงแสดงถึงความเด็ดเดี่ยวและเชื่อมั่นในพระองค์เอง [FONT=&quot]ทรงตั้งเป้าหมายและเตรียมการ พร้อมที่จะเผชิญหน้า[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]หลังจากพระมหาชนกทรงว่ายน้ำในมหาสมุทรนานถึง 7 [FONT=&quot]วัน นางมณีเมขลาก็ปรากฏตัวต่อพระพักตร์ พระองค์ทรงทราบว่าเป็นเทพธิดา แต่ก็มิได้ดำรัสอ้อนวอนขอความช่วยเหลือจากนางมณีเมขลาแต่ประการใด มีเพียงโต้ตอบสนทนากับนางมณีเมขลาเท่านั้น
    [/FONT]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]นางมณีเมขลาซึ่งเป็นเทพธิดาในพระราชนิพนธ์ เรื่องพระมหาชนก บรรยายความตอนหนึ่งว่า
    [/FONT]
    [[FONT=&quot]นางมณีเมขลามิได้ตรวจตรามหาสมุทรเป็นเวลาเจ็ดวัน เล่ากันว่า นางเสวยทิพยสมบัติเพลิน ก็เผลอสติตรวจตรา บางอาจารย์กล่าวว่า นางเทพธิดาไปเทพสมาคมเสีย นางคิดได้ว่า: “[FONT=&quot]วันนี้เป็นวันที่เจ็ดที่เรามิได้ตรวจตรามหาสมุทร มีเหตุอะไรบ้างหนอ[/FONT]” [FONT=&quot]เมื่อนางตรวจดูก็เห็นพระมหาสัตว์ จึงคิดว่า [/FONT]: “[FONT=&quot]ถ้ามหาชนกกุมารจักตายในมหาสมุทร เราจักไม่ได้เข้า เทวสมาคม[/FONT]” [FONT=&quot]คิดฉะนี้แล้ว ตกแต่งสรีระ สถิตอยู่ในอากาศไม่ไกลพระมหาสัตว์[/FONT]][/FONT]

    [FONT=&quot]เห็นได้ว่า แม้เทวดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ยังเผลอไผล ละทิ้งหน้าที่การงานที่รับผิดชอบถึง 7[FONT=&quot] วัน และด้วยนางมณีเมขลากลัวว่า หากไม่เข้าช่วยเหลือพระมหาชนก จะไม่ได้เข้า เทวสมาคม จึงรีบแต่งตัว (ตามวิสัยสตรี ก่อนที่จะ) เข้าไปช่วยพระมหาชนก นับเป็นตอนหนึ่งที่แสดงถึงพระราชอารมณ์ขันของในหลวงและพระองค์ทรงชี้ให้เห็นว่า เทวดายังละทิ้งหน้าที่ นับประสาอะไร ที่ผู้คนยามเผชิญภัยพิบัติอันตรายมัวแต่กราบไหว้หวังพึ่งเทวดาทั้งๆที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
    [/FONT]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]และหลังจากนางมณีเมขลาสนทนาโต้ตอบกับพระมหาชนก จะด้วยความละอายแก่ใจที่ตนเองละทิ้งหน้าที่ก็ไม่ทราบ เมื่อพระมหาชนกทรงชี้ให้เห็นประโยชน์แห่งความเพียร นางมณีเมขลาก็จำนนด้วยวาจา นำพาร่างพระองค์เสด็จสู่เมืองมิถิลานคร[/FONT]

    [FONT=&quot]หลังจากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ ในประเทศไทยปีที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงส่งสารอันเป็นสาระสำคัญ ผ่าน สคส พระราชทาน ปี 2555 [FONT=&quot]ด้วยข้อความในพระราชนิพนธ์พระมหาชนก ดังว่า[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ถึงจะมองไม่เห็นฝั่ง[/FONT]​
    [FONT=&quot]เราก็ต้องพยายามว่าย[/FONT]​
    [FONT=&quot]อยู่ท่ามกลางมหาสมุทร[/FONT]​
    ([FONT=&quot]เรื่อง ความเพียร)[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]โภคะทั้งหลาย[/FONT]​
    [FONT=&quot]มิได้สำเร็จ[/FONT]​
    [FONT=&quot]ด้วยเพียงคิดเท่านั้น[/FONT]​
    [FONT=&quot](เรื่อง การลงมือปฎิบัติ)

    [/FONT]
    ตามที่เคยได้กล่าวไปบ้างแล้ว พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงต้องการให้
    พสกนิกรของพระองค์เห็นว่าพระองค์คือพระมหาชนก แต่ทรงพระราชนิพนธ์เพื่อให้ ทุกคน เป็นดั่งเช่นพระมหาชนก


    ... เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม...


    พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

    แม้แต่คำว่า
    "มหาชน" ก็ยังมีปรากฏอยู่ในคำว่า "มหาชนก"


    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 มีนาคม 2012
  15. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    แกนY ทั้งสามแกนในอ่าวไทย ที่อยู่กลางอ่าวไทยเชื่อมระหว่างภาคกลางกับภาคใต้ คือ ประเทศไทยถูกแบ่งออกเป็นสอง เหตุที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากมหาอำนาจเห็นแล้วว่าทรัพยากรมากมายมหาศาลที่กลางอ่าวไทย ที่เราๆท่านๆรู้ๆกันอยู่ว่ามีอะไรบ้าง ใครเป็นตัวแทนของมหาอำนาจในภูมิภาคนี้ เป็นไปได้ยังไงประเทศเล็กๆกล้าต่อกลอนกับประเทศที่ใหญ่กว่า กล้าที่จะคิดรุกรานประเทศไทย กล้าที่จะยึดผลประโยชน์กลางอ่าวไทย ประเทศตัวแทนของมหาอำนาจ คือ เขมร ตลอดจนคนไทยหัวใจเขมร มีความเป็นไปได้ว่า เขาจะทำให้ ๓ จังหวัดชายแดนใต้ เป็นรัฐอิสระ อีกด้านหนึ่งเขาก็จะรุกหนักขึ้นโดยการ ใช้แผนที่ 1:2แสน เพื่อรุกอธิปไตยทางด้านเขาพระวิหาร ถ้าใต้รุกเป็นรัฐอิสระเมื่อไหร่ พร้อมกับ ทางด้านเขาพระวิหารก็รุกเช่นเดียวกัน ถ้ามหาอำนาจทำสำเร็จเมื่อไหร่ เขาก็จะลากเส้นน่านน้ำทางทะเลใหม่จาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ ลากเส้นไปหาเขมร นั้นหมายความว่า เขาจะปิดอ่าวไทยทันที ทองอยู่ในอ่าวเรือจะไปไหน ดังนั้นถ้ามหาอำนาจต้องการผลประโยชน์กลางอ่าวไทยจริงๆ ถ้าผมพิจารณาไม่ผิด เขาจะต้องรุกและยึดจาก ๓จังหวัดชายแดนใต้ไล่ขึ้นมาหากรุงเทพฯ อีกด้านหนึ่งก็ต้องรุกและไล่จากเขาพระวิหารมาหากรุงเทพฯ ดังนั้นถ้าเขาจะให้ได้กลางอ่าวไทยอย่างสมบูรณ์ เขาจะต้องทำให้คนไทยไร้พลัง คนไทยแตกแยกกันทางความคิดอย่างรุ่นแรง สถานที่เหมาะสำหรับการแตกแยกกันตรงไหน ตอบคือศูนย์กลางอยู่ที่กรุงเทพฯ เหตุการณ์รุนแรงที่คนไทยจะฆ่ากันเองก็อยู่ที่กรุงเทพฯ ทุกอย่างมันสอดคล้องรับกันด้วยเงื่อนเวลา จาก schedule ภัยพิบัติภัยธรรมชาติ ที่ผมได้พิจารณาวางไว้ มันเห็นหมด มันสอดคล้องกับในเรื่องพระมหาชนกอย่างไร กรุณาตามผมให้ทันนะครับ เมื่อคนไทยไม่รู้รักสามัคคีกัน ไม่เท่าทันกับเหตุการณ์ต่างๆที่กำลังจะเกิดขึ้นแล้วย่อมเป็นเหยื่ออันโอชะของมือที่ ๓ ภาคใต้ก็รุกหนัก ภาคตะวันออกก็รุกคืบ กรุงเทพก็เกิดจลาจล เมื่อนั้นมือที่ ๓ จะทำการหักด้ามขวานทองของเราทันที ก่อนที่เขาจะหักด้ามขวานทอง ก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ ๓ จะเกิดขึ้นจริงในปี ๒๕๕๗ (ก่อนหน้านี้จะเป็นสงครามตัวแทนกันก่อนนะครับ ) เขาจะต้องยึดแหล่งอาหาร แหล่งพลังงานแห่งใหม่ให้ได้ก่อน เพราะเส้นทางการลำเลียงอาหารและพลังงานมันอยู่ไม่ไกล ขนส่งสะดวก เมื่อพิจารณาจาก schedule ภัยพิบัติแล้วย่อมไม่เกินจากนี้ (พระมหาชนกหน้า ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙) ผมจะระบุเงื่อนเวลาให้และเรื่องราวต่างๆที่กำลังจะเกิดขึ้นอย่างชัดเจนเห็นภาพต่อไปครับ สมมติว่าพญาอินทรีย์ได้ผลประโยชน์ตามที่เขาต้องการแล้ว คือตั้งแต่ภาคใต้มาถึงภาคกลางและตะวันออกแถวเขมรแล้ว รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดในอ่าวไทยด้วย อีกด้านหนึ่ง พญามังกรก็จะรุกตั้งแต่ภาคเหนือมาถึงภาคกลางและภาคตะวันตก ส่วนจังหวัดไหนไปไหนรบกวนผู้รู้ช่วยพิจารณาอีกทีหนึ่งครับ
    Happy New Year กับ หมาเห่า ๒ ตัว คือ สงครามครั้งสุดท้าย สงครามแตกหักในประเทศไทย ระหว่าง อวิชชา กับ คุณธรรม ใครจะอยู่ ใครจะไป ต้องตายกันไปข้างหนึ่ง ผู้แพ้ย่อมอยู่ไม่ได้ ดังนั้นข้าพเจ้าขอแจ้งคนดีให้ทำใจ แต่ก็ขอให้ทำหน้าที่ต่อไป ถึงจะแตกหัก ยังไงก็ช่างเหตุการณ์จะบังคับให้คนดีคนบุญล่าถ่อยไปตั้งหลัก ส่วนคนไม่ดีก็จะปกครองกันต่อไป เมื่อนั้นให้ระวัง (โปรดติดตาม details ต่อไป)<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    ประชาชีจะสับสนเรื่องดีชั่ว ถ้วนทุกทั่วจะหมุดขุดรูหนี
    ไม่แน่ใจสิ่งที่ทำนำความดี เกรงเป็นผีตายตกไปตามกัน

    พุทธศาสน์จะถูกรุกและล้ำ มิตรเคยค้ำเป็นศัตรูมุ่งอาสัญ

    เกิดวิกฤติธรรมชาติอุบาทว์ครัน พายุลั่นน้ำถล่มดินทลาย

    แผ่นดินแยกแตกเป็นสองปกครองยาก เกิดวิบากทุกข์เข็ญระส่ำระสาย

    เกิดการปราบจลาจลชนล้มตาย เลือดเป็นสายน้ำตานองสองแผ่นดิน<o:p></o:p>
    ขอให้คนบุญพิจารณาให้เข้าใจนะครับ สิ่งที่ผมพิจารณาแจ้งไปตั้งแต่ต้น ว่ามันมีเงื่อนเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง ทุกอย่างมีเหตุมีผลมีจังหวะนะครับ อย่าเชื่อโหราศาสตร์นะครับโดยไม่พิจารณาให้รอบด้านนะครับ คำว่ามิตรเคยค้ำเป็นศัตรูมุ่งอาสัญนั้น หมายความว่า มิตรคือประชาชนที่เคยสนับสนุนเขาคนนั้นให้ปกครองประเทศด้วยคะแนนเสียงอย่างล้นหลาม เมื่อมีเสียงสนับสนุนก็มีอำนาจสามารถทำได้ทั้งดีและไม่ดี ไม่ได้คิดทำเพื่อส่วนรวม ส่วนรวมจะเป็นยังไงก็ช่างขอให้ตัวเองและพวกพ้องได้ประโยชน์อย่างเดียวก็พอ ถึงแม้จะขายประเทศ ขายผลประโยชน์ของประชาชน หรืออะไรที่มากกว่านี้ก็สามารถทำได้หมด ดังนั้นเมื่อคุณธรรมไม่สามารถที่จะชนะอธรรมได้อีกแล้ว ให้ท่านทั้งหลาย ให้คนบุญทั้งหลาย ให้ระวัง ภัยพิบัติจะเป็นผู้จัดการเอง เกิดวิกฤติธรรมชาติอุบาทว์ครัน พายุลั่นน้ำถล่มดินทลาย(ไม่ใช่สึนามิในอ่าวไทย) เวลานั้นใกล้เข้ามาทุกขณะจิต...<o:p></o:p>
    สิ่งที่ข้าพเจ้าได้พิจารณาแจ้งบอกไปนี้ ขอให้คนบุญทุกๆท่านพิจารณาหาบ้านที่สอง หรือหาที่หลบภับสำหรับครอบครัวของท่าน ทิศไหนที่จะไปหลบภัย เมื่อภัยมาจากตะวันออก ท่านจะไปที่ไหน เมื่อเกิดสงครามกลางเมือง ระบบเศรษฐกิจจะพัง ความเป็นอยู่จะไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ระบบโครงสร้างการเมืองการปกครองจะไร้ระบบ คนดีจะก้มหน้า คนบุญจะเดินก้มโค้ง คนดีจะเดินตรอก ขี้คอกจะเดินถนน ผีป่าจะเข้าเมือง พระเสื้อเมืองทรงเมืองจะหลีกหนี คนดีจะต้องไปถือศีล คนมีความรู้มีปัญญาจะต้องไปทำการเกษตร ทั้งๆที่ไม่เคยทำการเกษตร และมีเรื่องร้ายๆหลายเรื่องมากมาย<o:p></o:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. แก้มแดง

    แก้มแดง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +794
    ครับทั้งหมดที่ผมได้พูดกล่าวมา ไม่ได้ให้ท่านกลัวเกินเหตุ เพียงแต่แจ้งว่าอย่าได้ประมาท คนจะตกงานมากมาย บ้านเมืองจะไร้ขือแปร กฎหมายทำอะไรไม่ได้ ไม่สามารถคุ้มครองคนดีได้ เกิดทุกข์ยากไปทั่ว คนจะอดอยากแร้นแค้น ทั้งอาหาร น้ำดืมน้ำใช้ <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    โปรดติดตามตอนต่อไป แล้วท่านจะร้อง เอ๋อ...แบบสะอึก...จนพูดอะไรไม่ออก...<o:p></o:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. อธิฎฐาน

    อธิฎฐาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    430
    ค่าพลัง:
    +1,610
    ติดตามอ่านอย่างใกล้ชิดค่ะ ตอนนี้คนไทยใจเขมรมากมายมายเหลือเกิน
    สงครามครั้งสุดท้ายอย่างไรก็ต้องเกิด ทำใจกันไว้ล่วงหน้า
     
  18. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    มหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครั้งที่ ๖
    น้ำท่วม น้ำแห้ง แล้งน้ำใจ...อยู่ด๊ายยยยย!
    ระหว่างวันที่ ๑๖ – ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๕
    ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง ต.หนองบอนแดง อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี

    มหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครั้งที่ ๖ น้ำท่วม น้ำแห้ง แล้งน้ำใจ...อยู่ด๊ายยยยย! ระหว่างวันที



    ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ เราชาวไทยต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์น้ำท่วมครั้งยิ่งใหญ่ เกิดความเดือดร้อนไปทั่วทุกภูมิภาค คร่าชีวิตผู้คนไปมากกว่า ๖๐๐ คน และส่งผลกระทบเดือดร้อนกับครอบครัวนับล้าน ซึ่งจนถึงทุกวันนี้ยังไม่มีแนวทางป้องกัน แก้ไขที่ชัดเจน อันจะเป็นหลักประกันได้ว่าอุทกภัยใหญ่เช่นที่เกิดขึ้นนี้ จะไม่เกิดขึ้นอีกในปี ๒๕๕๕ นี้

    นอกจากเหตุน้ำท่วมใหญ่แล้ว เพียงระยะเวลาไม่ถึง ๒ เดือนต่อมา หลายจังหวัดของประเทศต้องเผชิญกับ ภัยแล้ง ในขณะที่ภาคเหนือตอนบนต้องประสบกับภัยหนาว และภาคใต้เผชิญกับเหตุการณ์คลื่นยักษ์สาดซัดชายหาด จนแผ่นดินทรุดหายไปหลายกิโลเมตร เหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้ล้วนสะท้อนว่าเรากำลังเผชิญกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไปแล้ว และมีความเป็นไปได้อย่างยิ่งว่า ในอนาคตข้างหน้าลูกหลานของเราจะต้องใช้ชีวิตอยู่บนโลกที่มีความแปรปรวนทางภูมิอากาศอย่างสูง ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งย่อมไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเกิดเพราะน้ำมือมนุษย์ ที่สูบกิน เผาผลาญทรัพยากรธรรมชาติประหนึ่งว่าจะไม่มีวันหมดสิ้น

    ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศ เป็นผลทำให้เกิดโรคระบาดใหม่ๆ ทั้งในคน สัตว์ พืช ที่คาดการณ์และหาทางป้องกันไม่ได้ ขณะเดียวกันการสูญเสียผลผลิตทางการเกษตรไปกับอุทกภัย ภัยแล้ง จะส่งผลเป็นความขาดแคลนอาหาร กลายเป็นประเด็นสำคัญระดับโลกที่นานาประเทศเป็นกังวล ในขณะเดียวกันระบบเศรษฐกิจของโลกที่อิงกับประเทศซีกโลกตะวันตก ก็กำลังง่อนแง่น คาดการณ์ไม่ได้ เศรษฐกิจไทยที่ผูกอยู่กับตลาดส่งออก ก็มีแนวโน้มนับถอยหลังถึงวันที่จะต้องประสบกับวิกฤตการณ์ที่หนักหนาสาหัสอีกครั้ง

    ย้อนกลับมามองเหตุการณ์ในประเทศ ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งทางความคิด การแบ่งกลุ่มฝ่ายหลายขั้ว ในแทบทุกภาคส่วน การขับเคลื่อนนโยบายต่างๆ ไม่อาจกระทำได้สำเร็จ อันเป็นผลจากความขัดแย้งของคู่ขัดแย้งทางสังคม

    เหตุการณ์ทั้งหมดเหล่านี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้เคยทรงเตือนไว้แล้ว เมื่อสิบกว่าปีก่อน หากจะได้ย้อนไปพิจารณา ส.ค.ส.พระราชทานเมื่อปี ๒๕๔๗ จะเห็นระเบิด ๔ ลูกอยู่รอบประเทศ พร้อมข้อความว่า “มีระเบิดอยู่ทั่วไป” และทางออกที่ทรงพระราชทาน คือ “สามัคคี คือ พลังค้ำจุนแผ่นดินไทย”

    เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ตีความระเบิด ๔ ลูก ว่าคือ วิกฤต ๔ ด้าน อันได้แก่ วิกฤตภัยพิบัติ โรคระบาด วิกฤตเศรษฐกิจ และความขัดแย้งทางสังคม จึงได้เตรียมพร้อมรับมือด้วยการฝึกอบรม บ่มเพาะ เตรียมคน ตั้งศูนย์ฝึกกระจายกระจายไปทั่วประเทศ ปัจจุบันจัดตั้งได้ ๕๒ ศูนย์ฝึก และ ๓๓ ศูนย์เตรียมการ เป็นจำนวน ๘๕ ศูนย์ ซึ่งในแต่ละปีจะได้จัดงานใหญ่เพื่อพบปะ และแสดงผลการดำเนินงานของแต่ละปี ในงาน “มหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน” งานประจำปีของเครือข่าย โดยในงานจะได้มีการประมวลสรุปผลการดำเนินงาน และจัดงานเสวนาในประเด็นที่สำคัญ โดยในปีนี้งานเสวนา จะได้จัดดำเนินการตีความ “พระราชนิพนธ์พระมหาชนก” ซึ่งเครือข่ายเราเชื่อว่าในบทพระราชนิพนธ์ที่พระองค์ท่านใช้เวลายาวนานกว่า ๑๑ ปี มีปริศนาทางรอดจากภัยพิบัติต่างๆ เหล่านี้ซ่อนอยู่ เป็นรหัสที่ควรให้ความสำคัญในการศึกษาตีความ ดั่งที่เคยปรากฏให้เห็นมาแล้วจากเหตุการณ์บ้านเมืองที่ผ่านมา

    แม้วิกฤตการณ์จะเกิดขึ้นและดำเนินไป หลายคนอาจมองว่าเปล่าประโยชน์ที่จะลงมือทำ เพราะไม่มีทางทันการ แต่เครือข่ายเราเชื่อว่า “ตัวอย่างที่ดีมีค่ากว่าคำสอน” ท้ายที่สุดแล้ว แม้ไม่อาจหยุดยั้งพิบัติภัยได้ แต่สิ่งที่ทำในวันนี้ จะเหลือเป็นร่องรอยบันทึกไว้ให้ลูกหลานได้เรียนรู้ ดั่งการเพาะหน่ออ่อนของต้นกล้ามะม่วงให้เติบโต


    ..........

    งานนี้วันที่2 อ.ปรีชา เถาทอง ศิลปินที่วาดภาพประกอบหนังสือพระราชิพนธ์พระมหาชก
    ได้มาตอบคำถาม เบื้องลึก เบื้องหลังต่างๆ ให้ได้หายสงสัยกัน

    ไว้หากโชคดี อาจจะมีวีดีโอให้ได้ชมย้อนหลังกันครับ
     
  19. klu

    klu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +1,320
    ขออนุญาตแย้งเรื่องภาคใต้ว่าเป็นฝีมือทางฝั่งตะวันตก
    เพราะว่าเคยอ่านเรื่องเล่าของหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
    ที่มีบุคคลในคณะปฏิวัติ (ถ้าจำไม่ผิดเป็นเพื่อนคุณพนมเทียนด้วย) มาสอบถามกับท่าน และได้มีการเอ่ยชื่อ กัดดาฟี่ ด้วย
    3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีหลายฝักหลายฝ่ายด้วยกัน รวมถึงยังมีโจรดั้งเดิมอีกต่างหาก
    แต่จะบอกว่า สหรัฐฯ มีเอี่ยวด้วยก็อาจเป็นได้ สังเกตได้จากสายสัมพันธ์ทางการเมืองบางอย่าง เรื่องผลประโยชน์ไม่เข้าใจออกใครนี่นะ

    ----------------------
    จะมีหนึ่งนารีขี่ม้าขาว ควงคฑามุ่งสู่ดาวสร้างความหวัง
    ผู้ปกครองจะเป็นหญิงพึงระวัง สายน้ำหลั่งกรากเชี่ยวหวาดเสียวใจ
    ศิวิไลซ์จะบังเกิดในสยาม หลังฝนคร้ามลั่นครืนจะยืนได้
    จะเข้าสู่ยุคมหาชนพาไป เปลี่ยนเมืองใหม่ศักราชแห่งประชา
    คนชั่วจะถูกปราบราบคาบสิ้น แผ่นดินเดือดสูญหายไร้ปัญหา
    ประเทศชาติผ่านวิกฤติด้วยศรัทธา ยามเมื่อฟ้าศรีทองผ่องอำไพ

    เรามาถึงตรงนี้กันแล้วนะ ผู้ปกครองเป็นหญิงพึงระวัง
    รอหนึ่งนารีเคลื่อนไหวอย่างเดียวเท่านั้นแหละ
    ขอยืนยันด้วยความสัตย์ คำทำนายนี้ไม่ใช่ของหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
    หากสังเกตจากเทปบันทึกเสียงต่าง ๆ จะเห็นได้ว่า
    หลวงพ่อท่านไม่เคยพูดกล่าวถึงบทกลอนใด ๆ หรือ พูดเป็นบทกลอนเลย
    ตอนนี้ฟ้าสีแดง ก็เสียวแวบกันไปก่อนเน้อ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2012
  20. zagio

    zagio เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    57
    ค่าพลัง:
    +184
    หลังฝนคร้ามลั่นครืนจะยืนได้

    คิดถึงคำของคุณ aunnusit เลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...